Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพ ของเพนเดอร์ (Pender’s Health Promotion Model),…
ทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพ ของเพนเดอร์
(Pender’s Health Promotion Model)
การพัฒนาทฤษฎี Health Promotion Model
การเห็นความสำคัญของสุขภาพ (Importance of health)
รับรู้ว่าสุขภาพสามารถควบคุมได้ (Perceived control of health)
รับรู้ความสามารถของตน (Perceive self – efficacy)
คำจำกัดความของสุขภาพ ตั้งแต่การไม่มีโรคจนถึงสุขภาพสูงสุด
การรับรู้สภาวะสุขภาพ (Perceived health status)
การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรม (Perceived benefits of behaviors)
การรับรู้ถึงอุปสรรคของพฤติกรรม (Perceived barriers to health promoting behaviors)
องค์ประกอบอื่น เช่น อายุ เพศสภาพ การศึกษา รายได้ น้ำหนัก
ข้อตกลงเบื้องต้นของทฤษฎี (Assumptions of Health Promotion Model)
บุคคลจะสร้างเงื่อนไขของการดำรงอยู่ มนุษย์ทุกคนมีเป้าหมายสุขภาพที่ดี
บุคคลมีความสามารถสะท้อนการตระหนักรู้และการประเมินความสามารถของตน
บุคคลมองคุณค่าของการเติบโตในทางบวกและพยายามที่จะไปให้ถึงเป้าหมาย
บุคคลหาวิธีการที่จะทำให้พฤติกรรมดำเนินไปอย่างดี
บุคคลมีความซับซ้อนในลักษณะร่างกาย อารมณ์ สังคม ในการที่จะมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม
บุคลากรทางสุขภาพเป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของสิ่งแวดล้อม ซึ่งมีอิทธิพลต่อบุคคลทุกช่วงชีวิต
การปรับเปลี่ยนมุมมองต่อตนเองระหว่างบุคคลกับสิ่งแวดล้อม คือ ความจำเป็นในการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม
คำอธิบายแบบจำลองส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์
คุณลักษณะของบุคคลและประสบการณ์ของบุคคล(Individual characteristics and
experiences)
พฤติกรรมเดิมที่เกี่ยวข้อง (Prior related behavior) พฤติกรรมเดิมเป็นผลทั้งโดยตรง
และโดยอ้อมในการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ
ปัจจัยส่วนบุคคล (Personal factor/influence) หมายถึง ปัจจัยส่วนบุคคลเป็นองค์ประกอบ
หนึ่งในการคาดหมายพฤติกรรม
การคิดรู้และอารมณ์ที่จำเพาะต่อพฤติกรรม (Behavioral specific cognitions and affect)
การรับรู้ถึงประโยชน์ของการปฏิบัติ (Perceived benefits of action) การรับรู้ถึง
ประโยชน์ทำให้เกิดพฤติกรรม
การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติ (Perceived barriers to action) การรับรู้ถึงอุปสรรค
การรับรู้ความสามารถของตน (Perceived Self – Efficacy)
กิจกรรมและความเกี่ยวเนื่องผลที่ได้ (Activity – related affect) สภาวะความรู้สึก ก่อน
ระหว่าง หรือภายหลัง กิจกรรม
อิทธิพลความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล (Interpersonal influences) ความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลเป็นอิทธิพลส าคัญ ซึ่งครอบครัว เพื่อน และผู้ให้บริการ ทางด้านสาธารณสุข
อิทธิพลของสถานการณ์ (Situational influences) การรับรู้บริบทของสถานการณ์ รวมถึง
การรับรู้ว่ามีสิ่งที่เอื้อต่อการปฏิบัต
ผลลัพธ์ของพฤติกรรม (Behavioral Outcome)
ความยึดมั่นต่อแผนปฏิบัติ (Commitment to a plan of action) ประกอบด้วย 1)
การยึดมั่นที่จะดำเนินตามการกระทำ เฉพาะในเวลา สถานที่ และบุคคล และ 2)
ความต้องการและความชอบที่เกิดขึ้นขณะนั้น (Immediate Competing Demands and
Preferences)
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ (Health promoting behavior)
พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ เป็นเป้าหมายที่ต้องการได้รับสูงสุด
โดยบูรณาการเป็นวิถีสุขภาพในการดำรงอยู่
ผลคือ ทำให้เกิดสุขภาพที่ดีใน
แต่ละแนวคิดมีความเชื่อมโยงกัน
นางสาวชุติมา อุทย รหัสนักศึกษา 62102301034 เลขที 34