Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา (Oxygen therapy)
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล (anxiety) กระสับกระส่าย (restlessness)
ระดับการมีสมาธิลดลง (decreased ability to concentrate)
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (decreased level of consciousness)
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น (increased fatigue)
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน (vertigo)
ความดันโลหิตลดลง (blood pressure will decrease)
อาการหายใจล าบาก (dyspnea)
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ โดยวิธีการเพิ่มปริมาณ
ออกซิเจนในถุงลมปอด และกระแสเลือด
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและ
หลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด คือ มีภาวะPaO2 < 60 mmHg หรือ SaO2 < 90 % เมื่อหายใจเข้าในบรรยากาศปกติ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia ตามมาหลังได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง (severe trauma)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน (acute myocardial infarction: MI)
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทำผ่าตัด
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ปุวยที่หายใจเอง เมื่อค่า PaO2 ≥ 60 มม.ปรอท โดยที่ค่า
PaCO2 สูงกว่าภาวะปกต
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ (lung atelectasis) ออกซิเจนเป็นพิษ (oxygen toxicity) หรือกด
การทำงานของ cilia
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ปุวยที่ได้รับพิษจาก paraquat เช่น ยาฆ่าหญ้า
ผู้ปุวยที่ได้รับยาเคมีบ าบัด อาจท าให้เสริมฤทธิ์ของสารพิษที่ได้รับเข้าสู่ร่างกายเร็วขึ้น
ทำผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ ควรจำกัดความเข้มข้นของออกซิเจนที่ใช้ในต่ำ
ที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการติดไฟ
ระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจนโดยเฉพาะการให้ความชื้นแบบ nebulizer
สามารถเพิ่มภาวะการติดเชื้อแบคทีเรียในทางเดินหายใจได
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน บริเวณที่เกิดไฟไหม้จะทำให้ขบวนการติดไฟ
เพิ่มความรุนแรงยิ่งขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
ตรวจวัดสัญญาณชีพ ดูลักษณะ และอัตราเร็วของการหายใจ ความดันโลหิตและชีพจร
ความผิดปกติของสีผิว ดูลักษณะบริเวณริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้า ผิวหนังว่าเขียวหรือไม่
ระดับความรู้สึกตัว
วัดปริมาตรหายใจเข้า-ออกต่อครั้ง (Tridal Volume) ในกรณีที่ผู้ป่วยอาการหนักและมี
เครื่องมือวัดโดยเฉพาะ
ติดตามผลค่าก๊าซให้ออกซิเจน (Blood gas)
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ตรวจดูสายยาง ให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง ไม่เลื่อน ต้องคงที่ไม่บิดงอ ไม่อุดตัน
ขวดทำความชื้นมีน้ำอยู่พอเหมาะไม่มากหรือน้อยจนเกินไป
ออกซิเจนไม่รั่วจากขวดทำน้ำกลั่นที่ทำความชื้น
ถ้าเป็นออกซิเจนถัง จะต้องให้มีออกซิเจนอยู่เสมอ ถ้าเหลือ 1/3 ของถัง ควรเตรียมถังใหม่เพื่อเปลี่ยนได้ทันทีและต้องตั้งถังอย่าล้มถังในขณะให้
เปลี่ยนและนำอุปกรณ์การใช้ออกซิเจน ไปทำความสะอาดและทำให้ปลอดเชื้อ
ถ้าให้ออกซิเจนจากระบบ pipeline ที่มีรูเปิด (outlet) ส าหรับเสียบ flow meter
จะต้องดูให้ flow meter เสียบเข้าที่
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way)
ให้โล่งตลอดเวลา เพื่อปูองกันไม่ให้ขาดออกซิเจน
การจัดท่านอน ท่านั่ง ให้ผู้ปุวยรู้สึกสบาย และปอดขยายได้เต็มที่โดยให้อยู่ในท่าศีรษะสูง
ดูดเสมหะที่ค้างตามท่าทางเดินหายใจเป็นระยะๆ เพื่อป้องกันการอุดตัน
สอนการไออย่างถูกวิธี เพื่อให้ระบายเสมหะออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
กระตุ้นให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อให้น้ำช่วยละลายเสมหะให้ขับออกได้ง่าย
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ให้จิบน้ำบ่อยๆ
ถ้าเจ็บคอ ให้ล้างปากด้วยน้ำยา หรือบ้วนด้วยน้ำสะอาดบ่อยๆ
ทาริมฝีปากด้วย กลีเซอรีน บอแรกซ์
ทำความสะอาดช่องจมูก
ดูแลความสะอาดบริเวณหน้า โดยเฉพาะในผู้ปุวยที่ได้รับ Oxygen mask จะมีเหงื่อออก
มาก ควรเช็ด mask และทาแปูงให้บ่อยๆ หรือทุก 2 - 3 ชั่วโมง เพื่อให้สบายขึ้น
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
บอกประโยชน์ของการได้รับออกซิเจน
พยาบาลควรมีความชำนาญในการใช้เครื่องมือ
แนะนำอธิบายให้ผู้ป่วยรู้จักเครื่องมือต่างๆได้ง่าย
ดูแลควบคุมอัตราการไหของออกซิเจนให้เพียงพอ ไม่ให้ผู้ป่วยอึดอัด
สนใจรับฟังความต้องการของผู้ป่วยอย่างจิงจัง
ให้เวลาผู้ปุวยในการพูดคุย สัมผัสผู้ป่วยบ้างและรีบไปดูแลทันทีเมื่อผู้ป่วยขอความ
ช่วยเหลือ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจน
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ (Low flow system)
ผู้ปุวยจะได้รับออกซิเจนเพียงบางส่วน และได้จากการหายใจเอาออกซิเจนในบรรยากาศไปผสม
การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula)
ผู้ป่วยจะได้รับออกซิเจนที่มีความเข้มข้นต่ำ
ได้ออกซิเจนร้อยละ 30 – 40 ในขณะที่ปรับอัตราการไหลของออกซิเจน 4 – 6 ลิตร/ นาที
ข้อดี
ผู้ป่วยสามารถดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารได้โดยไม่ต้องปลดสายออก ไม่ค่อยรู้สึกอึดอัดหรือรำคาญมากนัก และติดต่อสารกับผู้อื่นได้สะดวก
ข้อเสีย อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง ทำให้เยื่อบุจมูกบวมและมีน้ำมูกออกมาอุดทำให้ท่อตันได้ จึงควรทำความสะอาดท่อและรูจมูกทุก 8 ชั่วโมง
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
เป็นการให้ออกซิเจนทางหน้ากากครอบปากและจมูกผู้ป่วย โดยเปิดออกซิเจนเข้าในหน้ากาก
Simple mask
ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 40-50 การปรับอัตราไหลของออกซิเจน 5 – 8 ลิตร/ นาที
Reservoir bag (partial rebreathing mask)
ความเข้มข้นสูงกว่าร้อยละ 60–90 การหายใจครั้งแรกจะเป็นออกซิเจนบริสุทธ เมื่อหายใจออกคาร์บอนไดออกไซด์จะไหลกลับเข้าในถุประมาณ 1/ 3 ของความจุของถุงไปผสมรวมกับออกซิเจนในถุง
Non rebreathing mask
ลักษณะเป็นลิ้นไหลทางเดียว (unidirectional valve) ทั้ง 2 ข้าง เพื่อให้อากาศไหลออกสู่ภายนอกอย่างเดียวไหลเข้าไม่ได้ อากาศที่ได้มีความเข้มข้นของออกซิเจนสูงมาก เหมาะสำหรับผู้ปุวยที่ต้องการออกซิเจนบริสุทธิ์ในความเข้มข้นสูง
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
ผู้ป่วยจะได้รับออกซิเจนทั้งหมดจากอุปกรณ์โดยไม่ต้องดึงอากาศไปผสม ความเข้มข้นของออกซิเจนกำหนดได้จากอุปกรณ์
การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
อุปกรณ์ให้ออกซิเจนผู้ป่วยที่มีท่อทางเดินหายใจ ทำด้วยพลาสติกเบาลักษณะเป็นท่อสายลูกฟูก เรียกว่า corrugated tube
สวมยึดติดกับท่อเจาะหลอดลมคอ
การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)
อุปกรณ์คล้ายหน้ากากคล้องไว้กับคอ ครอบบนท่อเจาะหลอดลมคอ
ออกซิเจนจะไหลเข้าทางรูเปิดขณะหายใจเข้า มีcorrugated tube
เพื่อให้ได้ความชื้นแบบละอองฝอย (jet nebulizer) ออกซิเจนที่ได้จะไม่แห้ง
การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
อุปกรณ์ให้ออกซิเจนที่ครอบตัวผู้ป่วยลักษณะคล้ายเต็นท์ประกอบด้วยมุ้งพลาสติก มีซิบเปิด-ปิด ครอบบนโครงโลหะ ด้านหลังกล่องใส่น้ำแข็ง ทำให้อากาศในมุ้งมีความชื้นสูง
ข้อเสียคือ ออกซิเจนหนักกว่าอากาศจึงทำให้ตกบนที่นอนพร้อมความชื้น ทำให้ร่างกายผู้ปุวยชื้น ต้องหมั่นเปลี่ยนอุปกรณ์เครื่องนอน
การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
อุปกรณ์ใช้ครอบศีรษะและไหล่ผู้ป่วยเด็ก
ลักษณะเป็นกระโจมหรือกล่องพลาสติกให้ออกซิเจนมีท่อนำออกซิเจนเข้าภายใน
อัตราการไหลของออกซิเจน10 - 12 ลิตร/ นาที ความเข้มข้นของออกซิเจนที่ได้ร้อยละ 60 – 70
การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET)
ใส่ท่อนี้เข้าไปในหลอดลมของผู้ป่วย แล้วต่อเข้ากับเครื่องช่วยหายใจ (respirator)
ใช้ในผู้ปุวยที่ไม่สามารถหายใจได้ด้วยตนเอง
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
ระบบให้ความชื้นจะเป็นตัวกำหนดขนาดละอองความชื้นเติมใช้น้ ากลั่นปราศจากเชื้อขึ้นกับขนาดละอองน้ำที่ต้องการ
ชนิดละอองโต (Bubble)
ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30 – 40 %
สายให้ก๊าซมีขนาดเล็ก
น้ำจะปุดเป็นฟองเมื่อเปิดให้กับผู้ป่วย
มักใช้กับ oxygen cannula, simple face mask, และ partial rebreathing mask
ชนิดละอองฝอย (Jet)
ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียว
สายให้ออกซิเจนมักมีขนาดใหญ่และเป็นลูกฟูก (corrugated)
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
ต้องมี
อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ (regulation of gas flow)
ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตรา
การไหลของก๊าซ (regulation of gas flow)เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของออกซิเจนออกจากแหล่งจัดเก็บออกซิเจนมาตามระบบท่อ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย
ผู้ปุวยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่ำ (hypoxia) ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง (highfowler’s position) จะช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
ผู้ปุวยที่หายใจลำบากทำให้นอนราบไม่ได้ ควรจัดท่า orthopnea position เป็นท่าศีรษะสูง
ต้องอยู่ในท่านั่งหรือฟุบหลับบนเก้าอี้ โดยใช้หมอน 3 – 4 ใบ วางซ้อนกันและตัวผู้ปุวยฟุบพาดโต๊ะ
ทำให้ช่องอกขยาย
การบริหารการหายใจ
การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม (diaphragmatic breathing)
สามารถท าได้ในผู้ปุวยที่มีความผิดปกติของการหายใจเรื้อรังและเฉียบพลัน
การหายใจโดยการห่อปาก (pursed - lip breathing)
การหายใจวิธีนี้จะช่วยลดการคั่ง
ของอากาศในถุงลม รักษาความดันบวกในการหายใจ ทำให้หลอดลมขยายตัวนานกว่าปกติ
การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing)
การหายใจเข้าลึก ๆ ช่วยขยายหลอดลม กระตุ้น
การสร้างสารเคลือบภายในปอด และช่วยขยายพื้นที่การแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอด
การดูดเสมหะ (suction)
การช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
ทำการดูดเสมหะออก จัดท่านอนให้เหมาะสม กระตุ้นให้เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด
ป้องกันอาการท้องอืดที่อาจเกิดขึ้น โดยให้อาหารที่ย่อยง่ายครั้งละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้งและงดอาหารที่ทำให้เกิดก๊าซง่าย
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
เมื่อการเผาผลาญสารอาหารภายในเซลล์มากขึ้นร่างกายจะต้องการออกซิเจนมากขึ้น
การผ่อนคลายความวิตกกังวล
โดยแนะนำการทำสมาธิ หรือการนอนใส่หูฟัง ให้ฟังเพลง
วิธีการดูดเสมหะ
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal) หรือปาก (oropharyngeal suction)
สอดใส่เข้าทางรูจมูกผ่านไปถึงโพรงจมูกด้านหลัง (nasophgryngeal) ดูดเสมหะผ่านทางปาก (oral airway) ซึ่งเป็นท่อขนาดใหญ่กว่าสอดใส่เข้าทางปากผ่านช่องปากไปถึงโคนลิ้น
ก า ร ดู ด เ ส ม ห ะ ท า ง ท่ อ ช่ ว ย ห า ยใ จ(Endotracheal) ห รื อ ท า ง ท่ อ ห ล อ ด ค อ
(tracheostomy suction)
การดูดเสมหะผ่านท่อช่วยหายใจ Endotracheal หรือทางท่อเจาะคอที่เจาะผ่านหลอดลมออกมาภายนอก (tracheostomy tube)
อาการแทรกซ้อน
แรงกด หรือการระคายเคืองบริเวณรูจมูกและริมฝีปากอาจทำให้เกิดแผล
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
เกิดการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ ในขณะดูดเสมหะ ต้องทำการดูดเสมหะ
อย่างเบามือและนุ่มนวล
อาจเกิดการสำลักจากการกระตุ้น gag reflex หรือจัดท่าผู้ป่วยไม่ถูกต้อง
ริมฝีปากแห้งเกิดเป็นแผลได้ง่าย ให้ทาครีมทุกครั้งหลังทำความสะอาดปาก
อาจเกิดความผิดปกติในผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และเกิดภาวะความดัน
ในสมองสูง
การเก็บเสมหะ
การเก็บเสมหะส่งตรวจ (Sputum examination)
เพื่อส่งวิเคราะห์โรค ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ แล้วไอออกมา
การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ (Sputum culture)
เพื่อต้องการทราบว่าผู้ปุวยติดเชื้อชนิดใด และมีปฏิกิริยาต่อยาปฏิชีวนะตัวใด และเพื่อปรับเปลี่ยนแผนการรักษา
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ข้อควรปฏิบัติและต้องคำนึงถึง
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อนควรมีการเฝ้าระวังในเรื่องการติดเชื้อ
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้ การปูองกันทำได้โดยต้องให้ออกซิเจนผ่านน้ำเสมอก่อนเข้าสู่ผู้ป่วย
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias) คือ การได้รับออกซิเจนความเข้มข้นสูงเป็นระยะเวลานาน ๆ อาการพิษชนิดนี้มักพบได้ในทารกคลอดก่อนกำหนด
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจน
. ล้างมือให้สะอาด สวมmask เพื่อป้องกันการนำเชื้อเข้าสู่ผู้ป่วย
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว เพื่อประเมินอาการผู้ป่วย
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจนที่มาจากชนิดผนัง (wall type) จากถังใช้highpressure gas regulator ให้ถูกต้องและแน่นพอดี
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter จะได้ปริมาณของออกซิเจนมีหน่วยเป็นลิตรต่อนาทีตามที่ต้องการ สวมท่อสายยางของอุปกรณ์ให้ออกซิเจน กับท่อ flow meter
กรณีให้ nasal cannula
ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้าง และทุก 8 ชั่วโมงเพื่อให้ช่องจมูกโล่ง ทำให้ได้รับ
ออกซิเจนปริมาณถูกต้อง
สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง 2 ข้างโดยให้ส่วนโค้งแนบไปกับโพรงจมูก คล้องสายกับใบหู
2 ข้าง ปรับสายให้พอดีไว้ใต้คาง หรืออ้อมรอบศีรษะ เพื่อให้อยู่ในตำแหน่งปูองกันเลื่อนหลุด
กรณีให้ mask
simple mask ครอบหน้ากากบริเวณสันจมูกและปากให้แนบสนิท ปรับสายคล้องทัด
เหนือใบหูรอบศีรษะ จัดให้พอดีปูองกันการรั่วของออกซิเจน
ชนิดมีถุง เปิดออกซิเจนไหลผ่านถุง 10 -20 ลิตร/ นาที จนถุงโปุงเต็มที่เพื่อไล่ก๊าซอื่นที่
ค้างในถุงออกรวมทั้งทดสอบถุงไม่รั่วแล้วจึงใส่เหมือน simple mask
กรณีให้ oxygen hood (oxygen box)
ต่อท่อออกซิเจนเข้ากับกล่อง
วางครอบเฉพาะศีรษะและไหล่ ระวังไม่ให้สายอยู่ใกล้หน้าเด็ก ให้ออกซิเจนในปริมาณ
พอเพียงและไม่ให้ออกซิเจนระคายเคืองตาเด็ก
กรณีให้ T- piece
ควรดูดเสมหะออกก่อนเพื่อให้ออกซิเจนไหลผ่านหลอดลมคอได้สะดวก
ต่อสาย T – piece ครอบท่อหลอดลมคอ จัดสายไม่ให้เกิดภาวะดึงรั้ง
ลงบันทึกทางการพยาบาล ได้แก่ อาการ สัญญาณชีพ ปริมาณออกซิเจนที่ให้อุปกรณ์ที่ใช้
และปฏิกิริยาผู้ป่วยเมื่อได้รับออกซิเจน
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)เพื่อส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้รับออกซิเจนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 2 lit/ min ตามแผนการรักษา และไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ประเมินสภาพผู้ปุวยก่อนได้รับออกซิเจน ประเมินภาวะพร่องออกซิเจน ประเมินอัตรา
การหายใจ ชีพจร สีของเล็บ ปลายมือปลายเท้า เยื่อบุผิวหนัง ลักษณะการซีด และเขียว
ปรับออกซิเจนให้ได้ 2 lit/ min แล้วจัดให้สาย cannula อยู่ในต าแหน่งที่เหมาะสมคล้อง
สายกับหูทั้งสองข้างให้พอดี
จัดสิ่งแวดล้อมให้มีความปลอดภัย ติดปูายห้ามสูบบุหรี่ หรือห้ามนำวัตถุไวไฟเข้าใกล้
บริเวณเตียงผู้ปุวย และดูแลให้น้ำกลั่นใน humidifier ในระดับปกติ
จัดท่านอนศีรษะสูง เพื่อท าให้กระบังคมเคลื่อนต่ำลง ปอดขยายตัวได้เต็มที่เพิ่มพื้นที่ใน
การแลกเปลี่ยนก๊าซมากขึ้น
วัด vital signs ทุก 4 ชม เพื่อการประเมินสัญญาณชีพจะช่วยให้ทราบความรุนแรงของ
ภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ