Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ - Coggle Diagram
การส่งเสริมภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการและภาวะโภชนาการ
ความหมายของโภชนาการ
วิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับอาหาร สารอาหาร และสารอื่นที่มีอยู่ ตลอดจนปฏิกิริยา ย่อย ดูดซึม ขนส่ง
นำสารอาหารไปใช้และสะสมในร่างกาย รวมทั้งการกำจัดสารที่เหลือใช้ของร่างกาย
ภาวะโภชนาการ
สิ่งที่แสดงถึงระดับที่ร่างกายจำเป็นต้องได้รับสารอาหาร เพื่อนำมาใช้ในด้านสรีระอย่างเพียงพอ
ดี
มีสารอาหารครบถ้วน ในปริมาณเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
ไม่ดี
ต่ำกว่าเกณฑ์
ภาวะที่ร่างกายได้รับสารอาหารไม่เพียงพอกับความต้องการ
เกิน
ภาวะที่ร่างกายได้รับอาหารมากเกินความต้องการของร่างกาย
ปัจจัยที่มีผล
อายุ
เพศ
การใช้ยา
ภาวะสุขภาพ
ความชอบส่วนบุคคล
ผลจากการดื่มแอลกอฮอล์
วิถีชีวิต
ฐานะ
วัฒนธรรม ความเชื่อ และศาสนา
ปัจจัยด้านจิตใจ
ความสำคัญของอาหารและความต้องการพลังงานของร่างกายในภาวะเจ็บป่วย
ความต้องการพลังงาน
ขึ้นอยู่กับ เพศ อายุ ส่วนสูง น้ำหนัก และความรุนแรงของโรค สูตรคำนวณความต้องการพลังงานพื้นฐาน
เพื่อเสริมสร้างความเจริญเติบโต และการมีโภชนาการที่ดีให้แก่ร่างกาย อาหารได้มาจากพืชและสัตว์อาหารที่รับประทานเข้าไปจะย่อยได้สารอาหารสำคัญ
การประเมินภาวะโภชนาการ
วัดสัดส่วนของร่างกาย
ดัชนีมวลของร่างกาย
การประเมินทางชีวเคมี
เจาะเลือด
ตรวจร่างกายทางคลินิก
ตรวจเช่นเดียวกับประเมินภาวะสุขภาพ
ประเมินจากประวัติการรับประทานอาหาร
ชนิดของอาหารที่บริโภค
พฤติกรรมการรับประทานอาหาร
การส่งเสริมภาวะโภชนาการในผู้ป่วยที่มีปัญหาภาวะโภชนาการ
Obesity (ภาวะอ้วน)
การพยาบาล
คำนวนพลังงานที่ควรได้รับต่อวัน
จำกัดมื้ออาหาร สัดส่วนของหาร การใช้น้ำมัน ไขมัน น้ำตาล
หลี่กเลี่ยงการรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
รับประทานอาหารครั้งละน้อย แต่บ่อยครั้งและจำกัดอาหารมื้อเย็น
มีการสะสมของไขมันมากเกินไป
Emaciation (ภาวะผอมแห้ง)
Anorexia nervosa
ภาวะเบื่ออาหารเป็นความรู้สึกไม่อยากรับประทานอาหาร อาจรู้สึกต่อต้าน เมื่อนึกถึงหรือเมื่อเห็นอาหาร
ภาวะที่ผอมมากเกินไป BMI น้อยกว่าหรือเท่ากับ 16 กิโลกรัมต่อตารางเมตร
Bulimia Nervosa
ทานมากกว่าปกติ แล้วหาวิธีเอาออกโดยการล้วงคอให้อาเจียน
การพยาบาล
หาสาเหตุที่พบบ่อยๆ
ส่งเสริมความรู้สึกอยากอาหารให้มากที่สุด
ดูแลด้านจิตใจ
การใช้ยา
ดูแลให้ผู้ป่วยได้รับอาหารเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
Nausea and vomiting (คลื่นไส้ อาเจียน)
คลื่นไส้ เป็นความรู้สึกอยากขับอาหารที่กินเข้าไปแล้วออกทางปาก
อาเจียน คือ การที่มีแรงดันจากภายในดันเอาสิ่งที่อยู่ในกระเพาะอาหาร
การพยาบาล
พยาบาลผู้ป่วยขณะอาเจียน
สังเกตสิ่งต่าง ๆ เพื่อบันทึกและรายงานอย่างถูกต้อง
พยาบาลผู้ป่วยหลังอาเจียน
ป้องกัน และแก้ไขอาการอาเจียน
ดูแลความสะอาดร่างกาย ปาก ฟัน เครื่องใช้ สิ่งแวดล้อม
Abdominal distemtion (ภาวะท้องอืด)
ความรู้สึกแน่น อึดอัด ไม่สบายในท้องที่เกิดจากมีแรงดันในท้องเพิ่ม
การพยาบาล
ให้นอนศีรษะสูง 45-60 องศา
งดอาหารที่ทำให้เกิดแก๊ส
ค้นหาสาเหตุ แสดงความเห็นและ ความเห็นใจ
Dysphagia and aphagia (ภาวะกลืนลำบากและกลืนไม่ได้)
การพยาบาล
สังเกตและประเมินอาการเกี่ยวกับการกลืนไม่ได้หรือกลืนลำบาก
ดูแลให้ได้รับสารน้ำและอาหารอย่างเพียงพอ
ดูแลตามแผนการรักษา
ระวังการสำลัก
ดูแลด้านความสะอาดของร่างกาย
กลืนลำบาก คือความรู้สึกที่เกิดความลำบากในการกลืน
กลืนไม่ได้ คือไม่สามารถกลืนอาหารได้ ไม่ว่าจะชนิดไหน
จนรุนแรงสด คือ กลืนไม่ได้แม้แต่น้ำหรือน้ำลาย
การส่งเสริมในผู้ป่วยที่รับประทานอาหารเองไม่ได้
ป้อนอาหาร
อุปกรณ์
ถาดอาหารพร้อมอาหาร
ช้อน หรือช้อนส้อม
แก้วน้ำพร้อมน้ำดื่ม และหลอดดูดน้ำ
กระดาษ หรือผ้าเช็ดปาก
ผ้ากันเปื้อน
วิธีทำ
จัดให้นั่ง หรือนอนตะแคงข้างเล็กน้อย ปูผ้ากันเปื้อน วางอุปกรณ์ในตำแหน่งที่ใช้สะดวกล้างมือ
ตักป้อนในปริมาณที่เหมาะสม เช็ดปากเมื่อเปื้อน หลังป้อนให้ดื่มน้ำ บ้วนปาก เช็ดปากให้
เก็บถาดอาหาร เมื่อผู้ป่วยทานเสร็จ ลงบันทึกทางการพยาบาล
ใส่และถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์
สายNG เบอร์ 14-18fr.
Toomey syringe 50ml.
สารหล่อลื่น ชามรูปไต แก้วน้ำ ถาดใส่เครื่องใช้
ถุงมือ กระดาษเช็ดปาก ผ้าเช็ดตัว หลอดดูดน้ำ พลาสเตอร์
วิธีทำ
ตรวจสอบคำสั่งแพทย์ ล้างมือ เตรียมอุปกรณ์ไปที่เตียงผู้ป่วย
บอกวัตถุประสงค์การใส่สายยาง จัดท่า ใส่ถุงมือ ใส่mask บีบสารหล่อลื่นใส่ซองสายtube
วัดสายNG จากปลายจมูกถึงปลายติ่งหู ปลายติ่งหู ถึงกระดูกอก เปิดห่อ Toomey syringe ใส่ plunger
พันสายNGในมือซ้าย มือขวาจับปลายสารNG ใส่สารหล่อลื่นที่ปลายสายNG 5-6 นิ้ว ให้ผู้ป่วยเงยหน้าจับห่างจากปลายสาย 3-4 นิ้ว
ค่อยๆสอดเข้าทางรูจมูกแนวด้านข้าง เอียงเล็กน้อย ให้โค้งตามกายวิภาคของลำคอ ถึงลำคอหักข้อมือเล็กน้อย ให้ผู้ป่วยก้มหน้าเล็กน้อย
ให้ผู้ป่วยกลืนน้ำลายพร้อมค่อยๆดันสายNGจนถึงตำแหน่งที่ทำเครื่องหมายไว้ ติดพลาสเตอร์ไว้คร่าวๆกันสายดันออก
ถ้าผู้ป่วยหายใจไม่สะดวกให้รีบดึงสายออกทันที แล้วใส่ใหม่ทางรูจมูกอีกข้างหนึ่ง
ทำความสะอาด เก็บอุปกรณ์ให้เข้าที่ ลงบันทึกทางการพยาบาล
ให้อาหารทางสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์
เหมือนกับให้ทางสาย NG
วิธีทำ
จัดท่าศีรษะสูง เปิดผ้าบริเวณ Gastrotomy tube ปูผ้ากันเปื้อน
ล้างมือ ใส่mask ตรวจสอบคำสั่ง ปลดผ้าก๊อซหุ้มสายNGออก เช็ดด้วย70%แอลกอฮอล์
ใช้ Toomey syringe กับปลายสาย Gastric content
ตรวจความสามารถของกระเพาะอาหารในการบีบไล่อาหารไปยังลำไส้เล็ก
ทำแบบการให้อาหารทางสายNG ลงบันทึกทางการพยาบาล
การถอดสายยางให้อาหารจากจมูกถึงกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์
ผ้ากันเปื้อน สำลีชุบ70%แอลกอฮอล์ ไม้พันสำลีชุบเบนซิน และน้ำเกลือ
ชามรูปไต ถุงมือสะอาด ผ้าก๊อซสะอาด น้ำยาบ้วนปาก
วิธีทำ
ไขเตียงหัวสูง ตรวจคำสั่งการักษา ล้างมือให้สะอาด
ปูผ้ากันเปื้อน หักพับสาย ดึงสายออก ขณะดึงให้ผู้ป่วยอ้าปากหายใจยาวๆ
เช็ดรอยพลาสเตอร์ด้วยเบนซิน ตามด้วยน้ำเกลือ และแอลกอฮอล์
ทำความสะอาดปาก ฟัน และจมูก
ให้อาหารทางสายยางที่ใส่ทางรูเปิดของกระเพาะอาหาร
Bolus dose เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ทานอาหารทางปากเองไม่ได้
Drip feeding เหมาะสำหรับผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
อุปกรณ์
ถาดใส่เครื่องใช้ Toomey syringe stethoscope ชุดทำความสะอาดปากและฟัน
อาหารเหลวสำเร็จรูป หรืออาหารปั่น
ถุงมือ แก้วน้ำ ยาหลังอาหารบด ผ้าเช็ดปาก ลำสีชุบ70% แอลกอฮอล์ 2 ก้อน
วิธีทำ
ไขหัวเตียงสูง ทำความสะอาดปากและฟัน ปูผ้ากันเปื้อน ปลดผ้าก๊อซหุ้มสายให้อาหาร เช็ดด้วย70% แอลกอฮอล์
ทดสอบตำแหย่งสายอาหาร หักสาย ถอดtoomey syringe ดึง plunger ต่อกระบอกสูบกับปลายสายNG
เทอาหารใส่กระบอก คลายรอยพับ ปล่อยอาหารไหล กรณีให้ยาให้ผสมกับอาหาร หรือน้ำก่อนยาจะหมด
หักสายและเช็ดปลายด้วย70%แอลกอฮอล์ ปิดจุกสายNG เก็บอุปกรณ์ ลงบันทึกทางการพยาบาล
การล้างภายในกระเพาะอาหาร
อุปกรณ์
ชุดล้างกระเพาะอาหาร
ลารละลายใช้ล้างกระเพาะอาหาร ใช้น้ำเกลือ
ชามรูปไต ผ้าเช็ดปาก สายยางใส่กระเพาะอาหาร
สารหล่อลื่น ถุงมือสะอาด
วิธีทำ
ตรวจสอบคำสั่ง ประเมินสภาพผู้ป่วย ล้องมือ เตรียมอุปกรณ์
ปูผ้าคลุมบนเตียง ใช้ Toomey syringe หักพับสายก่อนปลดรอยต่อ
ต่อสายกับกระบอกฉีดยา ปล่อยสารสะลายเข้าทางสาย ดูดน้ำออกเบาๆ ให้สารสะลายไหลออกเอง
ถ้าไม่ออกให้พลิกตัวไปมา บันทึกสารน้ำที่เข้าและออกต้องมีปริมาณเท่ากัน จนครบจำนวนการรักษา
ปลดกระบอกฉีด ปิดปลายสาย
กรณีล้างเลือดในกระเพาะ ให้ล้างจนสารน้ำมีสีแดงจางที่สุด หรือใส
ทำความสะอาดช่องปากและฟัน เก็บเครื่องใช้ ลงบันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาล
ประเมินภาวะสุขภาพ
สุขภาพร่างกายของผู้ป่วย
วินิจฉัย
เสี่ยงต่อ.....เนื่องจาก....
วางแผน
ให้ได้รับสารอาหารตรงตามแผนการรักษา
ให้ค่าดัชนีมวลกายอยู่ในเกณฑ์ปกติ
การปฏิบัติ
ตรวจสอบแผนการรักษา
เตรียมอุปกรณ์ บอกวัตถุประสงค์
จัดท่าให้ศีรษะอยู่สูง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ประเมินผล
ประเมินผลลัพธ์
ความสุขสบายของผู้ป่วย
ประเมินกิจกรรม
การปฏิบัติถูกต้อง ครบถ้วน