Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา, นางสาวนัสรา…
บทที่ 9 การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาเพื่อเตรียมพัฒนาครู
1.ควรมีการฝึกอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษา
จากเน้นการสอน เปลี่ยนมาสู่การเป็นผู้นำผู้ที่คอยแนะนำ
ฝึกอบรม 3 ระดับ
1.ระดับพื้นฐาน ให้ครูทุกคน
2.ระดับการประยุกต์ใช้ให้เหมาะสม
3.ระดับก้าวหน้า ครูคอมหรือครูท่านอื่นเรียนรู้เทคโนโลยี
2.ควรมีการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน
ปรับปรุงหลักสูตรด้านเทคโนโลยีให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ปรับหลักสูตรการเรียนรู้วิทยาศาสตร์เพื่อประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
ปรับหลักสูตรการเรียนการสอนทักษะภาษาอังกฤษ
3.ควรมีการพัฒนาเนื้อหาการเรียน
พัฒนาเนื้อหาให้สอดคล้องเทคโนโลยี
เร่งจัดหาซอฟแวร์ประเภทเนื้อหาในตลาดนำมาปรับให้เหมาะสมกับท้องถิ่น
จัดหาซอฟแวร์สอนภาษาเพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการภาษา
สืบค้นข้อมูล ข่าวสาร ความรู้ที่มีประโยชน์เพื่อนำมาใช้ประโยชน์และดัดแปลงก่อนลองใช้
โครงการผลิตเนื้อหาระดับชาติ
นำเข้าเนื้อหาจากต่างประเทศ ปรับแต่ง
ผลิตเนื้อหาจากศูนย์กลางและมีความสำคัญต่อกระบวนการเรียนรู้
ส่งเสริมให้ปัจเจกบุคคล ครู สถาบันการเรียนรู้ ผลิตสื่อการเรียนรู้
4.ควรมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านกายภาพ
การเชื่อมโยงเครือข่ายของครูและบุคลากรทางการศึกษาเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนการเรียนรู้พัฒนารูปแบบการเรียนการสอน
การสร้างเครือข่ายกลุ่มวิชาชีพและความรู้
การเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อเพิ่มความคล่องตัว
5.ควรมีการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางด้านกายภาพ
ไฟฟ้าเข้าถึงทุกโรงเรียน
อินเทอร์เน็ต
โทรศัพท์เข้าถึงทุกโรงเรียน
ทุกโรงเรียนมีเครือข่ายท้องถิ่น LAN
มีคลื่นความถี่เพื่อการศึกษา
6.การตระหนักถึงศักยภาพของภาครัฐ
มีส่วนร่วมอาสาสมัครบริจาคโครงการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
ระดมคอมพิวเตอร์ให้โรงเรียนขาดแคลน
รองรับความต้องการในตลาดการศึกษา
7.ควรมีการสร้างความเข้มแข็งเชิงสถาบัน
มีศูนย์ประสานงาน
มีกองทุนพัฒนา
จัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีการศึกษาแห่งชาติ
8.มีการส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวย
ส่งเสริมให้เกิดการตื่นตัว ยอมรับ และกระตือรือร้นในการเปลี่ยนแปลงสู่สิ่งใหม่
การรู้เท่าทันสื่อ
การรู้เท่าทันสื่อ
รู้ทักษะเฉพาะในการวิเคราะห์
ตระหนักความสำคัญ
ค้นหาประเด็นระดับลึก
ใช้สื่ออย่างรู้ตัว
โต้ตอบได้อย่างมีสติ
ตั้งคำถามว่าสื่อเกิดขึ้นได้อย่างไร
อธิบาย ขยายความ ตีความ วิเคราะห์
ทักษะแและขั้นตอนการรู้เท่าทันสื่อ
การเข้าถึง
อ่าน จดจำ เข้าใจ คัดกรอง
การวิเคราะห์
ทำนายผล ตีความ ข้อเท็จจริงความสำคัญ เปรียบเทียบ
ประเมินค่าสื่อ
การสร้างสรรค์
ประโยชน์ภาษาที่ใช้
สร้างสรรค์และเลือกอย่างมีประสิทธิภาพ
วางโครงสร้างเนื้อหา
นางสาวนัสรา ดือราแม เลขที่ 5 รหัสนักศึกษา 6220160344