Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขระดับจุลภาค, ชนิตา ศิรวัชรเมธานนท์ รหัส60056557 -…
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขระดับจุลภาค
เศรษฐศาสตร์จุลภาค Microeconomic คือ เศรษศาสตร์สาขาหนึ่งซึ่งศีกษาพฤติกรรมและการตัดสินใจของบุคคลครัวเรือน ในการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัด เป็นการวืเคราะห์พฤติกรรมและการตัดสินใจเหล่านี้มีผลกระทบอย่างไร
เครื่องมือที่ใช้ทางด้านเศรษฐศาสตร์จุลภาค ประกอบด้วย อุปสงค์ อุปทาน และดุลยภาพ ความยืดหยุ่น ดุลยภาพเมื่อ เครื่องมือมีการใช้มาตรการของรัฐบาล
อุปสงค์ Demand ( want+Purchasing power ) คือ
ความต้องการซื้อจำนวนสินค้าและการบริการที่ผู้บริโภค ณ ระดับต่างๆโดยที่ปริมาณสินค้าที่ต้องการซื้อจะมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางตรงกันข้ามกับราคาสินค้า
อุปสงค์ แบ่งเป็น 3 ประเภท
1.อุปสงค์ต่อราคา
2.อุปสงค์ต่อรายได้
3.อุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น
ความยืดหยุ่น (Elasticity) คือการเปลี่ยนแปลงสิ่งหนึ่งเท่าไหร่ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคา คือการเปลี่ยยนแปลงในจำนวนซื้อของผู้บริโภคเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงโดยจะใช้สัญลักษณ์ ค่าของความยืดหยุ่นมีประโยชน์ในเรื่องการพิจารณาเกี่ยวกับการเก็บภาษี ว่าภาษีจะตกอยู่กับผู้ผลิตและผู็บริโภคมากน้อยเพียงไร
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อรายได้ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในจำนวนซื้อของผู็บริโภคเมื่อรายได้ของเขาเปลี่ยนแปลงไป โดยใช้สัญลักษณ์ จะมีค่าเป็นบวกหรือลบขึ้นอยู่กับชนิดของสินค้า
ความยืดหยุ่นของอุปสงค์ต่อราคาสินค้าชนิดอื่น หมายถึง การเปลี่ยนแปลงในจำนวนสินค้าที่ผู้บริโภคต้องการซื้อ เมื่อราคาสินค้าชนิดอื่นเปลี่ยนแปลงไป
ความยืดหยุ่นของด้านอุปทาน หมายถึง การเปลี่ยนแปลงปริมาณสินค้าที่ผู็ขายเมื่อราคาสินค้าเปลี่ยนแปลงไป
การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปทาน
1.การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทาน (Change in the quantity supplied ) คือการเปลี่ยนแปลงปริมาณขายเกิดขึ้นเนื่องจาก การเปลี่ยนแปลงราคา
การเปลี่ยนแปลงของระดับอุปทาน (Shift in supply curve) คือการที่ปริมาณสินค้าที่ผู็ขายนำออกขายในตลาด ณ ระดับราคาเดิมได้เพิ่มขึ้นหรือลดลงเปลี่ยนแปลงเนื่องจากปัจจัยอื่นเปลี่ยนโดยที่ราคาสินค้าคงที่
การเปลี่ยนแปลงเส้นอุปสงค์
การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค์ (Chang in demand quantity) คือการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงราคา
การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค์ (Chang in demand) คือ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณอุปสงค์ในขณะที่ราคาสินค้าและบริการคงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมของผู้ผลิต
1.ต้นทุนชัดแจ้งและต้นทุนแฝง
2.ต้นทุนเศรษฐศาสตร์ และต้นทุนทางบัญชี
3.ต้นทุนเอกชชนแลไะต้นทุนทางสังคม ต้นทุนเอกชน ต้นทุนทางสังคม
การควบคุมราคา (Price control) เหตุผลที่ต้องควบคุมเพราะราคาดุลยภาพที่เป็นอยู๋มีขณะสูงเกินไป ซึ่งงอาจทำให้ผู้บริโภคเดือดร้อน การให้เงินอุดหนุนของรัฐบาล การบริการที่ผู็ขายไท่ทีผลกำไร รัฐบาลจำเป็นต้องเข้ามาช่วยเหลือ แตะนำมาใช้ในส่วนที่มีความจำเป็นเท่านั้น
พฤติกรรมผู้บริโภค
1.ปัจจัยส่วนบุคคล
2.ครอบครัว
3.กลุ่มบุคคลในสังคม
4.สถานภาพทางสังคม
5.สารสนเทศและสื่อมวลชน
ดุลยภาพและกลไกของราคา ดุลยภาพ คือ ความสมดุลระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายเมื่อไหร่ก็ตามที่ผู้ซื้อและผู้ขายต่างตกลงใจจะซื้อและขายในราคาและปริมาณนั้น
การผลักภาระภาษี (Tax shifting) คือการกระทำอย่างใดอย่างหนึ่งของผู้มีหน้าที่เสียภาษีอากร เพื่อให้พ้นภาระภาษีทั้งหมดหรือบางส่วนให้ผู็อื่นเสียแทนตน
ชนิตา ศิรวัชรเมธานนท์ รหัส60056557