Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ระบบทางเดินหายใจและกลไกการทำงาน
ระบบทางเดินหายใจ
เป็นระบบสาคัญระบบหนึ่งในร่างกายในการรักษาสมดุลก๊าซในกระแสเลือด
หน้าที่
เติมก๊าซที่สาคัญ
กำจัดก๊าซของเสียจากร่างกาย
รักษาสมดุล กรด - เบส
ผ่านอวัยวะ
จมูก
ใช้เพื่อเป็นทางเข้าของอากาศ มีหน้าที่ในการดักจับฝุ่นละออง และเพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ
โพรงจมูกและช่องคอ
หน้าที่
เพิ่มอุณหภูมิ
ดักจับเชื้อโรค
เพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ
ฝาปิดกล่องเสียง
หน้าที่
กันไม่ให้อาหารที่เรากลืนตกลงสู่ ระบบทางเดินหายใจ
กล่องเสียง
ใช้ในการสร้างเสียง
เป็นทางเดินหายใจ
หลอดคอ หลอดลม และ หลอดลมฝอย
หน้าที่
ลำเลียงอากาศ
ดักจับเชื้อโรค
กำจัดเชื้อโรค
ถุงลม
หน้าที่
แลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างอากาศที่ลำเลียงมากับเส้นเลือดฝอยที่ล้อมรอบ
กลไกการหายใจของมนุษย์
Inspiration
เกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงหดตัว
กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น กระบังลมก็จะหดตัวและเลื่อนต่ำลง จึงทำให้ปริมาตรของช่องอกมีมากขึ้น
Expiration
เกิดขึ้นหลังจากการหายใจเข้า
กล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงมีการคลายตัว จึงทำให้กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง กระบังลมที่เลื่อนต่ำลงก็จะกลับเลื่อนตัวสูงขึ้น ทำให้ปริมาตรของช่องอกลดลง
การหายใจในระดับเซลล์
เป็นกระบวนการทางเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างก๊าซออกซิเจนกับสารอาหารภายในเซลล์
กลไกควบคุมการหายใจ
การควบคุมแบบอัตโนมัติ
เป็นการหายใจที่ไม่สามารถบังคับได้
สมองส่วน pons และ medulla เป็นตัวสร้างและส่งสัญญาณประสาทไปกระตุ้นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
ทำให้การหายใจเข้า-ออกเกิดขึ้นได้อย่างเป็นจังหวะสม่ำเสมอทั้งในยามหลับและยามตื่น
ไม่จำเป็นต้องพะวงกับการสั่งการให้มีการหายใจ
การควบคุมภายใต้อานาจจิตใจ
เป็นการหายใจที่สามารถบังคับได้
โดยสมองส่วนหน้า(cerebral cortex hypothalamus) และ สมองส่วนหลัง(cerebellum)
เราสามารถควบคุม บังคับหรือปรับการหายใจให้เหมาะสมกับพฤติกรรมต่าง ๆ ของร่างกายได้
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การแลกเปลี่ยนก๊าซ
เกิดจาก ความเข้มข้นที่ต่างกันของก๊าซระหว่างบรรยากาศและในเส้นเลือด
แบ่งการทำงานเป็น 3 ส่วนหลัก
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
หน้าที่
ขนส่งก๊าซ เม็ดเลือดแดง
เม็ดเลือดแดง
หน้าที่
หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน
มีอายุขัยประมาณ 120 วัน
ประกอบด้วย
Hemoglobin
หน้าที่
จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง
97 %
ความดันออกซิเจน
ความดันออกซิเจนและการขนส่งสู่เนื้อเยื่อ
เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนจำนวนน้อยสู่กระแสเลือดเพื่อส่งไปหาเซลล์ต่างๆ
เลือดเป็นตัวกลางการส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์
เม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจน
การหมุนเวียน
กลไกการขนส่งมี 2 อย่างที่เป็นหลัก
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์
hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ำ
เพื่อเกิดสารประกอบ กรดคาร์บอนิก (H2CO3) และแตกตัว
เป็นไฮโดรเจนไออน (H+) กับไบคาร์บอเนต (HCO3)
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
มีความหนาแน่นของอากาศลดลง มีผลให้ออกซิเจนมีระดับต่ำกว่าปกติ
ทำให้ร่างกายได้ออกซิเจนน้อยกว่าปกติ
เกิดการภาวะพร่องออกซิเจน
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
ทำให้อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลง
ทำให้ร่างกายต้องใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
การเล่นกีฬาหรือออกกาลังกายหนัก ๆ ขณะออกกำลังกาย
ต้องการออกซิเจนมากกว่าปกติ
ความเครียด
ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ การหายใจถี่ขึ้น
ต้องการออกซิเจน
อาหารที่มีไขมันมาก
ทำให้ปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำลง
ผู้สูงอายุ
การสูบบุหรี่
ทำให้ความสามารถในการรับออกซิเจนน้อยลง
ทำให้หลอดเลือดมีคาร์บอนไดออกไซด์มาก
เกิดอาการพร่องออกซิเจนมากขึ้น
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็แอลกอฮอล์
ส่งผลให้ร่างกายเกิดผล
เสียแบบเฉียบพลับและเรื้อรัง
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ประกอบด้วย
Temperature: T
Pulse: P
Respiration: R
Blood pressure: BP
ระบบทางเดินหายใจ
สังเกตพบ ผู้ป่วยมีอาการหายใจไม่สะดวก หายใจลำบากเมื่อนอนราบต้องนั่งหายใจหลังจากนอนหลับไปแล้วระยะหนึ่งต้องลุกขึ้นมานั่งหายใจ
อาการ
กระสับกระส่าย
หายใจไม่สม่ำเสมอเวลาหายใจเข้าจะลึกกว่าเวลาหายใจออก
เมื่อหายใจเข้ามีเสียงดัง
แสดงอาการหายใจหอบสังเกตจากปีกจมูกบาน
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ
ความดันโลหิตเพิ่ม
เจ็บหน้าอก
ระบบประสาทส่วนกลาง
ความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลง
กระสับกระส่าย
สับสน
มึนศีรษะ
ปวดศีรษะ
เพ้อ
หมดสติ
ชัก
ระบบผิวหนัง
ผิวหนังผู้ป่วยเย็น
ซีด
ระบบทางเดินอาหาร
อาการ
คลื่นไส้
อาเจียนในระยะแรก
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Arterial blood gas: ABG
เป็นการตรวจเพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของปอด
การนำเป็นการตรวจเพื่อหา
ประสิทธิภาพการทำงานของปอด
ประกอบด้วย
pH
เป็นตัวชี้วัดภาวะความเป็นกรดด่างของร่างกาย
ค่าปกติ อยู่ระหว่าง 7.35-7.45
PaCO2
เป็นการวัดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) ในเลือด
ค่าปกติอยู่ระหว่าง 35-45 mmHg
PaO2
เป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงปริมาณของออกซิเจน (O2) ในเลือดที่จับกับ Hemoglobin
ค่าปกติอยู่ระหว่าง 80-100 mmHg
HCO3
เป็นการวัดค่าความเข้มข้นไฮโดรเจนไอออน (HCO3) ในเลือด
ค่าปกติอยู่ระหว่าง 18-25 mEg/L
SaO2
เป็นค่าเปรียบเทียบระหว่าง Hemoglobin ที่มี O2 ที่อิ่มตัวกับความสามารถสูงสุดของHemoglobin
ค่าปกติอยู่ระหว่าง 97-100 %
Arterial oxygen saturation
ใช้ pulse oximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบิน
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดปกติอยู่ระหว่าง 98 - 99% หากวัด SPO2ได้น้อยกว่า 90% จำเป็นต้องได้รับการรักษา ยกเว้นผู้ป่วยโรคปอดอุดตันเรื้อรัง
Hemoglobin: Hb
ค่าฮีโมโกลบินปกติในผู้หญิง11.5 – 16.5 gm % (กรัมเปอร์เซนต์) และในผู้ชาย 13.0 - 18 gm % (กรัมเปอร์เซนต์)
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ
สาเหตุของการไอ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
มีอาการไอน้อยกว่า 2 สัปดาห์
เกิดจากไข้หวัด การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่าง
ไอมากกว่า 2 สัปดาห์
เกิดจากหลอดลมอักเสบ จมูกและไซนัสอักเสบเรื้อรัง หอบหืด หลอดลมอักเสบเรื้อรัง ปอดอักเสบเรื้อรัง จากการติดเชื้อ หรือมะเร็งหลอดลม
ฝุ่น ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ำที่สำลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ
ทำให้การไอมากขึ้น
ลักษณะ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ
ไอมีเสมหะ
เสมหะที่เป็นหนอง
เกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
เสมหะที่ไม่เป็นหนอง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
1.ประเมินประสิทธิภาพการไอ
2.สังเกตและบันทึกลักษณะ
3.ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจานวน ลักษณะ สี และกลิ่นของเสมหะ
4.ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม
5.กระตุ้นให้ดื่มน้าอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก
6.กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ
7.สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
8.ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
Hemoptysis
หมายถึง การมีเลือดออกจากทางเดินหายใจตั้งแต่กล่องเสียงลงไป ไม่รวมเลือดกำเดา (epistaxis) มีปริมาณเลือดเห็นได้ชัดเจน
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดสดออกมา
พบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดปนออกมา
คือ มีเสมหะและเลือดปนเป็นเนื้อเดียวกัน
พบในโรคมะเร็งของหลอดลม หรือวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
พบในโรคหลอดลมอักเสบเฉียบพลันและเรื้อรัง หรือมะเร็งหลอดลม
อจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม
พบในวัณโรคปอด
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
อุบัติเหตุ
การอักเสบ
เกิดอาการไออย่างรุนแรง หรือมีแผลในคอ กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ และในเนื้อปอด
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
1.ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
2.ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
3.ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด และพยาบาลจะต้องเฝ้าระวังการแพ้เลือด
4.ผู้ป่วยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้นพยาบาลต้องคอยปลอบโยน ให้กาลังใจ และให้การดูแลจนผู้ป่วยควบคุมตนเองได้
Hiccup
สาเหตุของอาการสะอึก
กินอิ่มมากเกินไป
ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทำให้เกิดแก๊ส
ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
สูบบุหรี่จัด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
1.ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน
2.ให้ชิมของเปรี้ยวจัด
3.แนะนำให้หายใจเข้าออกในถุงปิด
4.แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
5.ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
6.ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
Dyspnea
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
ทางเดินหายใจอุดกั้น หรือปอดถูกทาลาย
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ
การทำงานของหัวใจไม่ดี
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท
ทำให้การควบคุมการหายใจไม่ดี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
1.ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
2.ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพตามความเหมาะสม ทุก 1 - 2ชั่วโมง
3.เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ
4.ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
5.ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย
6.ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Chest pain
สาเหตุ
สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
สาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บตลอดเวลา
สาเหตุจากหัวใจ
สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ
สาเหตุจากเส้นประสาท
สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
1.สังเกตอาการ
2.ประเมินหาสาเหตุของอาการ
3.จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
Oxygen therapy
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล กระสับกระส่าย
ระดับการมีสมาธิลดลง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น
ช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก ระยะต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น
ความดันโลหิตลดลง
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
มีภาวะซีด
มีอาการเขียวคล้ำ
เป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง
อาการหายใจลำบาก
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทำผ่าตัด
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ป่วยที่หายใจเอง
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจาก paraquat
ขณะทำผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจน
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
1.หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
2.หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
3.ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ
4.ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
5.ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
ระบบการให้ออกซิเจน
Low flow system
การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว
จะได้ออกซิเจนร้อยละ 30 – 40
ข้อดี
ผู้ป่วยสามารถดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารได้โดยไม่ต้องปลดสายออก
ข้อเสีย
อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง ทำให้เยื่อบุจมูกบวมและมีน้ามูกออกมาอุดทำให้ท่อตันได้
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก
Simple mask
เป็นชนิดที่ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 40-50
Reservoir bag
ให้ความเข้มข้นสูงกว่าร้อยละ 60–90
Non rebreathing mask
ลักษณะคล้าย partial rebreathing ยกเว้นรูระบายอากาศส่วนหน้ากากลักษณะเป็นลิ้นไหลทางเดียว
High flow system
การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนผู้ป่วยที่มีท่อทางเดินหายใจ ทำด้วย
พลาสติกเบา เพื่อไม่ให้ดึงรั้งท่อเจาะหลอดลมคอ
ลักษณะเป็นท่อสายลูกฟูก เรียกว่า corrugated tube
tracheostomy collar
เป็นอุปกรณ์คล้ายหน้ากากคล้องไว้กับคอ ครอบบนท่อเจาะหลอดลมคอ ออกซิเจนจะไหลเข้าทางรูเปิดขณะหายใจเข้า
การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนที่ครอบตัวผู้ป่วยลักษณะคล้ายเต็นท์
การให้ออกซิเจนชนิด hood
เป็นอุปกรณ์ใช้ครอบศีรษะและไหล่ผู้ป่วยเด็ก
endotracheal tube: ET
เป็นท่อช่วยหายใจซึ่งแพทย์จะใส่ท่อนี้เข้าไปในหลอดลมของผู้ปุวย แล้วต่อเข้ากับเครื่องช่วยหายใจ
Humidification
Bubble
ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30 – 40 %
Jet
ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียว
Oxygen source
Oxygen tank
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของ
ออกซิเจนออกจากแหล่งจัดเก็บออกซิเจน
Oxygen pipeline
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของออกซิเจนออกจากแหล่งจัดเก็บออกซิเจนมาตามระบบท่อ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย
ทำให้ปอดขยายตัวเต็มที่
และมีปริมาณอากาศเพิ่มมากขึ้น
การบริหารการหายใจ
การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม
วิธีการปฏิบัติ
1.ตรวจดูให้แน่ใจว่าจมูก หลอดลม ไม่มีน้ำมูก หรือเสมหะ และไม่มีอาการบวมคั่ง
2.ช่วยเหลือผู้ป่วยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย
3.สอนผู้ป่วยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก (ปิดปากให้สนิท)
4.แนะนำให้ผู้ป่วยหยุดหายใจช้าๆ หลังหายใจเข้าลึกเต็มที่แล้วเป่าลมออกทางปากช้า ๆ
5.กระตุ้นให้ผู้ป่วยหดเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้องไล่อากาศออกจากปอดให้มากที่สุด
6.อธิบายให้ผู้ป่วยเป่าลมออกทางปากช้า ๆ ประมาณ 2 – 3 เท่า ของระบบการหายใจเข้า
7.หลังจากฝึกปฏิบัติจนชานาญแล้ว อาจใช้ของหนักประมาณ 5 ปอนด์
8.ให้ผู้ป่วยฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลมหายใจครั้งละ 10 – 20 นาที ทุกชั่วโมง
pursed - lip breathing
วิธีการปฏิบัติ
ช่วยเหลือผู้ป่วยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย
แนะนาผู้ป่วยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก (ปิดปากให้สนิท)
แนะนำผู้ป่วยให้หายใจออกทางปากช้า ๆ
อธิบายให้ผู้ป่วยตั้งใจเป่าลมออกทางปากช้า ๆ
ใช้วิธีการหายใจ
เนื่องจากหายใจลำบาก ถ้าผู้ป่วยฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง จะช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย
deep breathing
วิธีการปฏิบัติ
จัดท่าให้ผู้ปุวยหายใจเข้าลึก ๆ และไอได้สะดวก
รวบตรึงบริเวณผ่าตัดด้วยหมอน
แนะนำให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ อย่างช้า ๆ
แนะนำผู้ป่วยให้กลั้นหายใจและไอออกแรงๆ
เตรียมกระดาษเยื่อและชามรูปไต หรือกระโถนให้ผู้ป่วย
การดูดเสมหะ
วิธีการดูดเสมหะ
เครื่องดูดเสมหะ
mobile suction
wall suction
มี 2 วิธี
การดูดเสมหะทางจมูกหรือปาก
เป็นการดูดเสมหะผ่านทางจมูก หรือ nasal airway
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจหรือทางท่อหลอดคอ
เป็นการดูดเสมหะผ่านท่อช่วยหายใจ Endotracheal หรือทางท่อเจาะคอที่เจาะผ่านหลอดลมออกมาภายนอก
การดูดเสมหะทางปาก
สังเกตแบบแผนและลักษณะการหายใจค่อนข้างแรงมาก
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงเสมหะ
สังเกตอาการเหนื่อย หายใจลำบาก
สังเกตลักษณะสีผิว เล็บ และริมฝีปาก
สังเกตอาการซึมลงของผู้ป่วย
ประเมินอาการไอมีประสิทธิภาพที่จะขับเสมหะออกได้ลดลง
สังเกตลักษณะเสมหะ เหนียว และมีจานวนมาก
สังเกตอาการอาเจียนหรือขย้อนอาหารอยู่ในปาก
อาการแทรกซ้อน
แรงกด หรือการระคายเคืองบริเวณรูจมูกและริมฝีปากอาจทาให้เกิดแผล หรือเกิดแผลจากการดูดเสมหะหลาย ๆ ครั้ง
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
เกิดการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ ในขณะดูดเสมหะ
เกิดการสำลักจากการกระตุ้น gag reflex หรือจัดท่าผู้ป่วยไม่ถูกต้อง
ริมฝีปากแห้งเกิดเป็นแผลได้ง่าย
เกิดความผิดปกติในผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และเกิดภาวะความดันในสมองสูง
การพยาบาลผู้ป่วยด้านจิตใจก่อน/ ขณะ/ และหลังการดูดเสมหะ
แสดงท่าทางสุภาพอ่อนโยน
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าในถึงวัตถุประสงค์และความจาเป็นของการดูดเสมหะ
บอกให้ผู้ป่วยทราบก่อนว่า “จะทำการดูดเสมหะอย่างเบามือที่สุด ถ้าเจ็บหรือทนไม่ไหวให้ยกมือขึ้น”
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าจะมีการหายใจลำบากในขณะดูด
ทำการดูดเสมหะด้วยความเบามือ และนุ่มนวล
หลังดูดเสมหะเสร็จเช็ดทาความสะอาด เก็บของใช้ และจัดสิ่งแวดล้อมให้เรียบร้อย
พูดให้กำลังใจก่อนเดินออกจากเตียงผู้ป่วย
การเก็บเสมหะ
การเก็บเสมหะส่งตรวจ
ได้เสมหะแล้วบ้วนลงภาชนะสะอาดชนิดมีฝาปิด ควรตรวจดูให้แน่ใจว่าเป็นเสมหะไม่ใช่น้ำลาย
การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ
มีปฏิกิริยาต่อยาปฏิชีวนะตัวใด และเพื่อปรับเปลี่ยนแผนการรักษา
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจนชนิดต่าง ๆ
ล้างมือให้สะอาด สวมmask
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจนที่มาจากชนิดผนัง
ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่น้ำกลั่นปลอดเชื้อ
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter
หมุนปุ่มเปิด flow meter
กรณีให้ nasal cannula
กรณีให้ mask
simple mask
ชนิดมีถุง
กรณีให้ oxygen hood
กรณีให้ T- piece
ลงบันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การประเมินภาวะสุขภาพ
S
O
Nursing diagnosis
Planning
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
การวางแผน
Implementation
Evaluation
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ