Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ระบบทางเดินหายใจและกลไกการทำงาน
ระบบทางเดินหายใจ
เป็นระบบสาคัญระบบหนึ่งในร่างกายในการรักษาสมดุลก๊าซในกระแสเลือดโดยมีการทำงานสอดคล้องกับระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจมีหน้าที่
เติมก๊าซที่สำคัญ
กาจัดก๊าซของเสียจากร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจจะผ่านอวัยวะต่างๆ และมีหน้าที่แตกต่างกัน
โพรงจมูกและช่องคอ
ทำหน้าที่ เพิ่มอุณหภูมิ ดักจับเชื้อโรค และเพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ
ฝาปิดกล่องเสียง
ทำหน้าที่กันไม่ให้อาหารที่เรากลืนตกลงสู่ระบบทางเดินหายใจ
จมูก
มีหน้าที่ในการดักจับฝุ่นละออง และเพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ
กล่องเสียง
ใช้ในการสร้างเสียง และเป็นทางเดินหายใจ
หลอดคอ หลอดลม และ หลอดลมฝอย
ทำหน้าที่ลำเลียงอากาศ ดักจับเชื้อโรค และกาจัดเชื้อโรค
ถุงลม
ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างอากาศที่ลำเลียงมากับเส้นเลือดฝอยที่ล้อมรอบ
กลไกการหายใจของมนุษย์
การหายใจเข้า (Inspiration)
จะเกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงหดตัว ซึ่งจะทำให้กระดูกซี่โครง เลื่อนสูงขึ้น ในขณะเดียวกัน กระบังลมก็จะหดตัวและเลื่อนต่ำลง จึงทำให้ปริมาตรของช่องอกมีมากขึ้นความ ดันภายในช่องอกจะลดต่ำลง
การหายใจออก (Expiration)
จะเกิดขึ้นหลังจากการหายใจเข้า แล้วทำให้กล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครง มีการคลายตัว จึงทำให้กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลง โดยกระบังลมที่เลื่อนต่ำลงก็จะกลับเลื่อนตัวสูงขึ้นทำให้ ปริมาตรของช่องอกลดลง ความดันอากาศภายในช่องอกก็จะกลับสูงขึ้น
การหายใจในระดับเซลล์
เกิดขึ้นระหว่างก๊าซออกซิเจนกับสารอาหาร ภายในเซลล์ทำให้เกิด (adenosine triphosphate: ATP) ขึ้นเพื่อไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
กลไกควบคุมการหายใจ
การควบคุมแบบอัตโนมัติ
สมองส่วน pons และ medulla เป็นตัวสร้างและส่งสัญญาณประสาทไปกระตุ้นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ ทำให้การหายใจ เข้า-ออกเกิดขึ้นได้อย่างเป็นจังหวะสม่าเสมอทั้งในยามหลับและยามตื่น
การควบคุมภายใต้อานาจจิตใจ
cerebral cortex hypothalamus , cerebellum ทำให้เราสามารถควบคุม บังคับ หรือปรับการหายใจให้เหมาะสมกับพฤติกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การแลกเปลี่ยนแก๊สเกิดขึ้นได้อย่างไร?
ความดันออกซิเจน
ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
การหมุนเวียน
เพื่อกาจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
ความเครียด
อาหารที่มีไขมันมาก
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ
ผู้สูงอายุ
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
การสูบบุหรี่
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบประสาทส่วนกลาง
ระบบผิวหนัง
ระบบทางเดินอาหาร
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง(Arterial blood gas: ABG)
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation)
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb)
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
Hiccup
สาเหตุของอาการสะอึก
กินอิ่มมากเกินไป
ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทำให้เกิดแก๊ส (Carbonate)
ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
สูบบุหรี่จัด
มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของกระเพาะอาหารทันที
กินอาหารรสจัด
ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด
แนะนำให้หายใจเข้าออกในถุงปิด
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
Dyspnea
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท ทำให้การควบคุมการหายใจไม่ดี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพตามความเหมาะสม ทุก 1 - 2 ชั่วโมง
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ สำหรับช่วยเหลือผู้ปุวยฉุกเฉิน
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer)
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Hemoptysis
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
อุบัติเหตุ
การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด และพยาบาลจะต้องเฝ้าระวังการแพ้เลือดที่อาจเกิดขึ้น
ผู้ป่วยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น(hyperventilation) พยาบาลต้องคอย ปลอบโยน ให้กำลังใจ และให้การดูแลจนผู้ป่วยควบคุมตนเองได้
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดปนออกมา
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
ไอจนมีเลือดสดออกมา
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม
Chest pain
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
ประเมินหาสาเหตุของอาการ
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
สังเกตอาการ
อาการเจ็บหน้าอก
มีลักษณะแตกต่างกันตามสาเหตุ
สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ มักมีอาการเจ็บเฉพาะที่
และเจ็บเมื่อใช้มือกดที่บริเวณนั้น
สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ มักเจ็บตรงบริเวณที่มีอาการอักเสบ และ
มักเจ็บมากเมื่อเวลาหายใจเข้าลึก ๆ หรือเวลาไอ ทำให้ผู้ป่วยต้องหายใจตื้น ๆ
สาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บ
ตลอดเวลา อาจมีลักษณะในข้อ 2 ร่วมด้วย ถ้าการอักเสบลุกลามถึงเยื่อหุ้มปอด
สาเหตุจากหัวใจ เช่น ภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารี
(coronary artery) ตีบแคบ มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณกระดูก sternum โดยเฉพาะจะเจ็บหรือปวดมากเมื่อเวลา ออกกำลังกาย
สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณหลังกระดูก อาจเจ็บตลอดเวลา และเจ็บมากเมื่อเวลาไอ
สาเหตุจากเส้นประสาท เช่น โรครากประสาทสันหลัง (posterior nerve root) จะปวดร้าวไปตามแขนงของประสาทintercostalnerve ซึ่งอยู่ตามแนวกระดูกซี่โครง และปวด ตลอดเวลา
อาการไอ (Cough)
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ
ไอมีเสมหะ
สาเหตุของการไอ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ฝุ่น ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ำที่สำลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้การไอมากขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลาของการไอ
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจำนวน ลักษณะ สี และกลิ่นของเสมหะ
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
กระตุ้นให้ดื่มน้ำอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough)
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินประสิทธิภาพการไอ ลักษณะการไอ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง (severe trauma)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
(acute myocardial infarction: MI)
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทำผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia
ตามมาหลังได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ปุวยที่หายใจเอง
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ (lung atelectasis) ออกซิเจนเป็นพิษ
(oxygen toxicity) หรือกด การทางานของ cilia
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ปุวยที่ได้รับพิษจากparaquat
ขณะทาผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจนโดยเฉพาะการให้ความชื้นแบบ nebulizer
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
1.3 ระดับความรู้สึกตัว
1.4 วัดปริมาตรหายใจเข้า-ออกต่อครั้ง (Tridal Volume)
1.2 ความผิดปกติของสีผิว
1.5 ติดตามผลค่าก๊าซให้ออกซิเจน (Blood gas)
1.1 ตรวจวัดสัญญาณชีพ
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way)
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล(anxiety)กระสับกระส่าย(restlessness)
ระดับการมีสมาธิลดลง (decreased ability to concentrate)
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (decreased level of consciousness)
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น (increased fatigue)
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน (vertigo)
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป (behavior changes)
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น (increase pulse rate) ขั้นรุนแรง และพบ bradycardia
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก (increase rate and depth respiration) ระยะ ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น (shallow and slow respiration)
ความดันโลหิตลดลง (blood pressure will decrease)
มีภาวะซีด (pallor)
มีอาการเขียวคล้า (cyanosis)
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุูม (clubbing) 14. อาการหายใจลาบาก (dyspnea)
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ (cardiac dysthymias)
การให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา (Oxygen therapy)
ในภาวะที่ระบบการหายใจทางานเป็นปกติ ร่างกายจะได้รับออกซิเจนเพียงพอกับความต้องการของ ร่างกาย แต่เมื่อร่างกายเกิดภาวะพร่องออกซิเจนจนกลายเป็นเกิดภาวะขาดออกซิเจน
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
อุปกรณ์และวิธีการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
ระบบการให้ออกซิเจน
1) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่า (Low flow system)
1) การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula) หรือ nasal prongs
2) การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
2.1) Simple mask
2.2) Reservoir bag (partial rebreathing mask)
2.3) Non rebreathing mask
2) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
1) การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
2) การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)
3) การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
4) การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
5) การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET)
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
1) ชนิดละอองโต (Bubble)
2) ชนิดละอองฝอย (Jet)
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
1) ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
2) ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่หายใจลำบากทำให้นอนราบไม่ได้ ควรจัดท่า orthopnea position เป็นท่าศีรษะสูง ต้องอยู่ในท่านั่งหรือฟุบหลับบนเก้าอี้
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่า (hypoxia)
ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง (high fowler’s position)
การบริหารการหายใจ
1) การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม
(diaphragmatic breathing)
วิธีการปฏิบัติ
ตรวจดูให้แน่ใจว่าจมูก หลอดลม ไม่มีน้ำมูก
หรือเสมหะ และไม่มีอาการบวมคั่ง
ช่วยเหลือผู้ป่วยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย
สอนผู้ป่วยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก (ปิดปากให้สนิท)
แนะนำให้ผู้ป่วยหยุดหายใจช้าๆ หลังหาย
ใจเข้าลึกเต็มที่แล้วเป่าลมออกทางปากช้า ๆ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหดเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้องไล่อากาศออกจากปอด
อธิบายให้ผู้ป่วยเป่าลมออกทางปากช้า ๆ
ประมาณ 2 – 3 เท่า ของระบบการหายใจเข้า
หลังจากฝึกปฏิบัติจนชานาญแล้ว อาจใช้ของหนักประมาณ 5 ปอนด์
วางบนหน้าท้องเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
ให้ผู้ป่วยฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้อง
หรือกระบังลมหายใจครั้งละ 10 – 20 นาที ทุกชั่วโมง
2) การหายใจโดยการห่อปาก (pursed - lip breathing)
วิธีการปฏิบัติ
ช่วยเหลือผู้ป่วยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย
แนะนำผู้ป่วยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก(ปิดปากให้สนิท) และค่อย ๆ หยุดหายใจช้า ๆ เมื่อหายใจเข้าเ
แนะนำผู้ป่วยให้หายใจออกทางปากช้า ๆ โดยการห่อปาก
อธิบายให้ผู้ป่วยตั้งใจเป่าลมออกทางปากช้า ๆ
ใช้วิธีการหายใจ เมื่อผู้ป่วยมีการหายใจสั้น
และฝึกการหายใจ 5-10 นาที วันละ 4 ครั้ง
เนื่องจากหายใจลาบาก ถ้าผู้ป่วยฝึกปฏิบัติ
อย่างต่อเนื่อง จะช่วยลดความวิตกกังวลของ
3) การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing)
วิธีการปฏิบัติ
จัดท่าให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ และไอได้สะดวก
รวบตรึงบริเวณผ่าตัดด้วยหมอน โดยใช้มือกอดหมอนหรือรวบหมอนกด
ให้แน่น ขณะที่ ผู้ป่วยไอ ถ้าผู้ป่วยทำไม่ได้พยาบาลต้องช่วยเหลือ
แนะนำให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ อย่างช้า ๆ
แนะนำผู้ป่วยให้กลั้นหายใจและไอออกแรงๆ
เตรียมกระดาษเยื่อและชามรูปไต หรือกระโถนให้ผู้ป่วย
วิธีการปฏิบัติ
จัดท่าให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอนในท่าศีรษะสูง (fowler’s position)
ให้ผู้ป่วย อม mouthpiece และสูดหายใจเข้า สังเกตลูกบอลลอยขึ้นได้กี่ลูก
ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ อย่างช้า ๆ แล้วกลั้นหายใจไว้ประมาณ 3 – 6 วินาที แล้วสังเกตลูกบอลที่ลอย
เอา mouthpiece ออกจากปาก และหายใจออกอย่างปกติก่อนที่จะเป่าครั้งต่อไปด้วย Spirometers
การดูดเสมหะ (suction)
เครื่องดูดเสมหะ
เครื่องดูดเสมหะชนิดเคลื่อนที่(mobilesuction)
ชนิดติดฝาผนัง (wall suction)
วิธีการดูดเสมหะ
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal)
หรือปาก (oropharyngeal suction)
การดูดเสมหะทางปาก
สังเกตแบบแผนและลักษณะการหายใจค่อนข้างแรงมาก
อัตราการหายใจเร็ว
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงเสมหะ (adventitions sound)
สังเกตอาการเหนื่อย หายใจลำบาก ได้ยินเสียงดังขณะหายใจเข้าและออก
สังเกตลักษณะสีผิว เล็บ และริมฝีปาก มีอาการ cyanosis
สังเกตอาการซึมลงของผู้ป่วย
ประเมินอาการไอมีประสิทธิภาพที่จะขับเสมหะออกได้ลดลง
สังเกตลักษณะเสมหะ เหนียว และมีจำนวนมาก
สังเกตอาการอาเจียนหรือขย้อนอาหารอยู่ในปาก
การเตรียมเครื่องใช้สำหรับการดูดเสมหะทางปาก
ท่อต่อ (connector)
1.oralairwayหรือnasalairway
เครื่องดูดเสมหะ
สายหล่อลื่นหรือน้ากลั่น
สายดูดเสมหะที่สะอาดปราศจากเชื้อ ตามขนาดผู้ป่วย
ไม้กดลิ้นที่สะอาด
ถุงมือสะอาด
ขวดน้าเกลือใช้ภายนอก (normal saline external use) 100ซีซี
วิธีการปฏิบัติการดูดเสมหะทางปาก
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจ
ล้างมือให้สะอาด ใส่mask
สวมถุงมือ
จัดท่าผู้ป่วย
หยิบสายดูดเสมหะต่อกับเครื่องดูดเสมหะ
ปรับแรงดันเครื่องดูดเสมหะ ตรวจสอบแรงดัน
ให้ผู้ป่วยช่วยอ้าปาก ใส่สายดูดเสมหะ
การดูดเสมหะแต่ละครั้งไม่ควรนานเกิน 10 วินาที
หรือประมาณเวลาเท่ากับการกลั้นหายใจของผู้ดูดเสมหะ
ล้างสายดูดโดยการดูดผ่านน้าเกลือใช้ภายนอก
เช็ดทำความสะอาดบริเวณที่มีน้ำเปียก
ถอดสายดูดเสมหะ เก็บของให้เข้าที่เรียบร้อย ถอดถุงมือออกทิ้ง
อาการแทรกซ้อน
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
เกิดการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ
อาจเกิดการสาลักจากการกระตุ้น gag reflex
ริมฝีปากแห้งเกิดเป็นแผลได้ง่าย
อาจเกิดความผิดปกติในผู้ปุวยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
และเกิดภาวะความดันในสมองสูง
แรงกด หรือการระคายเคืองบริเวณรูจมูก
และริมฝีปากอาจทำให้เกิดแผล
การพยาบาลผู้ป่วยด้านจิตใจก่อน/ ขณะ/ และหลังการดูดเสมหะ
แสดงท่าทางสุภาพอ่อนโยน
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าในถึงวัตถุประสงค์และความจำเป็น
บอกให้ผู้ป่วยทราบก่อนว่า “จะทำการดูดเสมหะอย่างเบามือที่สุด ถ้าเจ็บหรือทนไม่ไหวให้ยก มือขึ้น”
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าจะมีการหายใจลาบากในขณะดูด
ทาการดูดเสมหะด้วยความเบามือ และนุ่มนวล
หลังดูดเสมหะเสร็จเช็ดทาความสะอาด เก็บของใช้
และจัดสิ่งแวดล้อมให้เรียบร้อย
พูดให้กาลังใจก่อนเดินออกจากเตียงผู้ป่วย
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ(Endotracheal)
หรือทางท่อหลอดคอ (tracheostomy suction)
การเก็บเสมหะ
การเก็บเสมหะส่งตรวจ (Sputum examination)
การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ (Sputum culture)
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ข้อควรปฏิบัติและต้องคำนึงถึง
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias)
อาจทพให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคือง
อาจเกิดการหยุดหายใจ
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจนชนิดต่าง ๆ
ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่น้ากลั่นปลอดเชื้อ ให้ระดับน้ำอยู่ตรงตำแหน่งขีดที่กำหนด
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจนที่มาจากชนิดผนัง (wall type)
หมุนปุ่มเปิด flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไว้ 1 – 2 นาที
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
กรณีให้ nasal cannula
ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้าง
สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง 2 ข้าง
ล้างมือให้สะอาด สวมmask
กรณีให้ mask
simple mask ครอบหน้ากากบริเวณสันจมูกและปากให้แนบสนิท
ชนิดมีถุง เปิดออกซิเจนไหลผ่านถุง 10 -20 ลิตร/ นาที
จนถุงโป่งเต็มที่เพื่อไล่ก๊าซอื่นที่ค้างในถุงออก
กรณีให้ oxygen hood (oxygen box)
ต่อท่อออกซิเจนเข้ากับกล่อง
วางครอบเฉพาะศีรษะและไหล
กรณีให้ T- piece
ควรดูดเสมหะออกก่อนเพื่อให้ออกซิเจนไหลผ่านหลอดลมคอได้สะดวก
ต่อสาย T – piece ครอบท่อหลอดลมคอ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
การวางแผน
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
5.3 ประเมินผลคุณภาพการบริการ