Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
บทที่ 7
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
ระดับการมีสมาธิลดลง
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
ความดันโลหิตลดลง
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุ้ม
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น
อาการหายใจลำบาก
วัตถุประสงค์
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง
เป็นการช่วยการทางานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด คือ มีภาวะPaO2 < 60 mmHg หรือ SaO2 < 90 % เมื่อหายใจเข้าในบรรยากาศปกติ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทาผ่าตัด
ข้อควรระวัง
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ปุวยที่หายใจเอง เมื่อค่า PaO2 ≥ 60 มม.ปรอท
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ปุวยที่ได้รับพิษจาก paraquat
ควรจากัดความเข้มข้นของออกซิเจนที่ใช้ในต่ำที่สุด
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจน
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจนจะทำห้ขบวนการติดไฟ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ
ดูแลความสะอาดของจมูกและ
ปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจน
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง
แหล่งให้ออกซิเจน
ระบบท่อ
ถังบรรจุออกซิเจน
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ข้อควรปฏิบัติและต้องคำนึงถึง
อาจทาให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
อาจเกิดการหยุดหายใจ
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจนชนิดต่าง ๆ
3.ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจน
ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่น้ากลั่นปลอดเชื้อ
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter
ล้างมือให้สะอาด สวมmask เพื่อป้องกันการนาเชื้อเข้าสู่ผู้ป่วย
หมุนปุ่มเปิด flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไว้ 1 – 2 นาที
กรณีให้ nasal cannula ให้ปฏิบัติ ดังนี้
ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้าง และทุก 8 ชั่วโมงเพื่อให้ช่องจมูกโล่งทำให้ได้รับ
ออกซิเจนปริมาณถูกต้อง
สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง 2 ข้างโดยให้ส่วนโค้งแนบไปกับโพรงจมูก คล้องสายกับใบหู2 ข้าง ปรับสายให้พอดีไว้ใต้คาง หรืออ้อมรอบศีรษะ เพื่อให้อยู่ในตาแหน่งปูองกันเลื่อนหลุด
กรณีให้ mask ให้ปฏิบัติ ดังนี้
simple mask ครอบหน้ากากบริเวณสันจมูกและปากให้แนบสนิท ปรับสายคล้องทัดเหนือใบหูรอบศีรษะ จัดให้พอดีปูองกันการรั่วของออกซิเจน
ชนิดมีถุง เปิดออกซิเจนไหลผ่านถุง 10 -20 ลิตร/ นาที จนถุงโปุงเต็มที่เพื่อไล่ก๊าซอื่นที่ค้างในถุงออกรวมทั้งทดสอบถุงไม่รั่วแล้วจึงใส่เหมือน simple mask
กรณีให้ oxygen hood (oxygen box) ให้ปฏิบัติ ดังนี้
ต่อท่อออกซิเจนเข้ากับกล่อง
วางครอบเฉพาะศีรษะและไหล่ ระวังไม่ให้สายอยู่ใกล้หน้าเด็ก ให้ออกซิเจนในปริมาณพอเพียงและไม่ให้ออกซิเจนระคายเคืองตาเด็ก
กรณีให้ T- piece ให้ปฏิบัติ ดังนี้
ควรดูดเสมหะออกก่อนเพื่อให้ออกซิเจนไหลผ่านหลอดลมคอได้สะดวก
ต่อสาย T – piece ครอบท่อหลอดลมคอ จัดสายไม่ให้เกิดภาวะดึงรั้งกรณีผู้ปุวยที่ได้รับยาในรูปการสูดละอองยาเข้าทางเดินหายใจโดยตรง (aerosol therapy) ควรปรับอัตราการไหลของออกซิเจน6 – 8 ลิตร/ นาที โดยหลักการอัตราการไหลของก๊าซสูงขึ้นทาให้ aerosol มีอนุภาคขนาดเล็ก
ลงบันทึกทางการพยาบาล