Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
บทที่ 7
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดหนึ่ง มีหน้าที่
หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน มีอายุขัยประมาณ 120 วัน
ร่างกายเรามีการทำลายและการ
สร้างเม็ดเลือดใหม่ตลอดเวลา
เซลล์เม็ดเลือดแดง จะมีส่วนประกอบที่เป็น Hemoglobin
ทำหน้าที่ในการ“จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง”
การหมุนเวียน
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้า เพื่อเกิดสารประกอบ กรดคาร์บอนิก และแตกตัว
เป็นไฮโดรเจนไออน กับไบคาร์บอเนต
ความดันออกซิเจน
หลังจากเลือดที่ออกจากปอดมีความดันออกซิเจนในเลือดสูงอยู่
เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนจานวนน้อยสู่กระแสเลือดเพื่อส่งไปหาเซลล์ต่างๆ
แต่เมื่อการเดินทางไปในอวัยวะที่ไกลขึ้น ความเข้มข้นออกซิเจนในเลือดลดลง
เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนจำนวน
มากขึ้นตามลาดับ
เพื่อให้ออกซิเจนออกมาอยู่ในกระแสเลือดเพื่อส่งไปสู่เซลล์
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง ภาวะดังกล่าวจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลง มีผลให้ออกซิเจนมีระดับต่ำกว่าปกติ
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง ภาวะดังกล่าวทำให้อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลง
การเล่นกีฬาหรือออกกาลังกายหนักๆทำให้ได้รับออกซิเจนไม่ทั่วถึงและเพียงพอ
ความเครียด ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ
อาหารที่มีไขมันมาก จะมีปริมาณออกซิเจนน้อย
ผู้สูงอายุ ความเสื่อมเกิดขึ้นได้ทุกระบบในร่างกาย
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์ การดื่มในปริมาณมากเกินควรจะส่งผลให้ร่างกายเกิดผล
เสียแบบเฉียบพลับและเรื้อรัง
การสูบบุหรี่ทาให้ความสามารถในการรับออกซิเจนน้อยลง
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ (Cough)
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ มีอาการไอน้อยกว่า 2 สัปดาห์
ฝุน ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้าที่สาลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทาให้การไอมากขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วย
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจำนวน ลักษณะ สี และกลิ่นของเสมหะด้วย
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลาของการไอ
กระตุ้นให้ดื่มน้าอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก
ประเมินประสิทธิภาพการไอ
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ
7.4.2 Hemoptysis
สาเหตุ
การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
อุบัติเหตุ
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วย
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
พยาบาลจะต้องเฝูาระวังการแพ้เลือดที่อาจเกิดขึ้นได้
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
พยาบาลต้องคอยปลอบโยน ให้กาลังใจ
7.4.3 Hiccup
สาเหตุ
ดื่มเครื่องดื่มเย็นจัด
สูบบุหรี่
ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทาให้เกิดแก๊ส
กินอาหารร้อนจัด
กินอิ่มมากเกินไป
เมื่อท้องว่าง กินอาหารรสจัด
การพยาบาลผู้ป่วย
แนะนาให้หายใจเข้าออกในถุงปิด
แนะนาให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน เช่น แอมโมเนีย เป็นต้น
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
7.4.4 Dyspnea
สาเหตุ
ทางเดินหายใจอุดกั้น หรือปอดถูกทาลาย
การทำงานของหัวใจไม่ดี
การควบคุมการหายใจไม่ดี
การพยาบาลผู้ป่วย
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพ
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
7.4.5 Chest pain
สาเหตุ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหัวใจ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเส้นประสาท
การพยาบาลผู้ป่วย
ประเมินหาสาเหตุของอาการ
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
สังเกตอาการ ควรแนะนาให้นอนตะแคงทับด้านที่
เป็น ถ้าอาการไม่ดีขึ้น อาจต้องให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบประสาทส่วนกลาง
สังเกตและประเมินพบ ความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงกระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ
ระบบผิวหนัง
พบว่า ผิวหนังผู้ป่วยเย็น ซีด เพราะร่างกายจะตอบสนองต่อภาวะพร่องออกซิเจน
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ประเมินพบ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นในระยะแรก
ระบบทางเดินอาหาร
ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนในระยะแรก
ระบบทางเดินหายใจ
สังเกตพบ ผู้ป่วยมีอาการหายใจไม่สะดวก หายใจลำบากเมื่อนอนราบ
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง
เป็นการตรวจเพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของปอด
เพื่อประเมินความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซ และการหายใจ
ค่าเหล่านี้บอกถึงความสามารถของ Hemoglobinในการจับออกซิเจนเข้าสู่เซลล์
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
ใช้ pulse oximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน ต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
การแปลผลต้องพิจารณาปริมาณเม็ดเลือดแดงและหรือค่าฮีโมโกลบินร่วมด้วย
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดปกติอยู่ระหว่าง 98 - 99% หากวัด SPO2ได้น้อยกว่า 90% จาเป็นต้องได้รับการรักษา ยกเว้นผู้ปุวยโรคปอดอุดตันเรื้อรัง
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน
ในเลือดค่าฮีโมโกลบินปกติในผู้หญิง11.5 – 16.5 gm %
ค่าฮีโมโกลบินปกติในผู้ชาย 13.0 - 18 gm %