Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
เกิดการแลกเปลี่ยนแก๊ส
ความดันออกซิเจนและการขนส่งสู่เนื้อเยื่อ
เลือดเป็นตัวกลางการส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์ส่วนเม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจนที่จะค่อยๆปล่อยออกซิเจนออกมาเรื่อยๆพบว่า ออกซิเจนในถุงลมยิ่งเยอะ ออกซิเจนในเลือดก็ยิ่งเยอะตาม และสุดท้ายออกซิเจนในเม็ดเลือดแดงก็จะเยอะขึ้นตาม
การหมุนเวียน
เมื่อเซลล์เนื้อเยื่อขับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกออก
จะมีการขนส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
กลับไปที่ปอด เพื่อทำการหายใจระบายออก
กลไกการขนส่งมี 2อย่าง
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ำ
เกิดสารประกอบ กรดคาร์บอนิก(H2CO3)
แตกตัวเป็นไฮโดรเจนไออน(H+)
กับไบคาร์บอเนต(HCO3)
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ มีส่วนประกอบที่เป็นHemoglobin
ทำหน้าที่ในการ“จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง”
การแลกเปลี่ยนก๊าซโดยรวมเกิดจาก
ความดันออกซิเจน และ คาร์บอนไดออกไซด์ที่แตกต่างกัน
ทำให้เกิดการถ่ายเทก๊าซ
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
(Arterial oxygen saturation)
ใช้ pulse oximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละ
ของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน(oxyhemoglobin)
ต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
การแปลผล
พิจารณาปริมาณเม็ดเลือดแดงและหรือ
ค่าฮีโมโกลบินร่วมด้วยจึงเป็นการวัด arterial oxygen saturation (SPO2)ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดปกติ
อยู่ระหว่าง98-99%
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง
(Arterial blood gas: ABG)
PaCO2
เป็นการวัดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2)ในเลือด
ค่าปกติอยู่ระหว่าง35-45 mmHg
HCO3
เป็นการวัดค่าความเข้มข้นไฮโดรเจนไอออน(HCO3-)
ในเลือด ค่าปกติอยู่ระหว่าง18-25 mEg/L
SaO2
เป็นค่าเปรียบเทียบระหว่าง Hemoglobin
ที่มี O2 ที่อิ่มตัวกับความสามารถสูงสุดของ
Hemoglobin ที่จะจับกับ O2 ได้
ค่าปกติอยู่ระหว่าง 97-100%
PaO2
เป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงปริมาณของออกซิเจน (O2)
ในเลือดที่จับกับ Hemoglobin
ค่าปกติอยู่ระหว่าง80-100 mmHg
Moderate hypoxemia
PaO2 มีค่าระหว่าง 40-60 mmHg
Severe hypoxemia
PaO2 มีค่าน้อยกว่า 40 mmHg
Mild hypoxemia
PaO2 มีค่าระหว่าง 60 –80 mmHg
pH
เป็นตัวชี้วัดภาวะความเป็นกรดด่างของร่างกาย
ค่าปกติ อยู่ระหว่าง 7.35-7.45
Acute respiratory acidosis
อาการและอาการแสดง
Hypoventilation
มีอาการง่วงเหงาหาวนอน ประสาทสัมผัสเปลี่ยนแปลงไป ระดับความรู้สึกลดลงจนไม่รู้สึกตัว หัวใจเต้นเร็วไม่เป็นจังหวะ
การแปลผล
ค่า pHต่ำกว่าปกติ ค่า PaCO2สูงกว่าปกติ
ส่วนค่า HCO3 ปกติ
Acute respiratory alkalosis
การแปลผล
ค่า pH สูงกว่าปกติ ค่าPaCO2 ต่ำกว่าปกติ ส่วนค่า HCO3 ปกติ
อาการและอาการแสดง
Hyperventilation
หัวใจเต้นเร็ว ประสาทสัมผัสเปลี่ยนแปลงไป ชา
หมดความรู้สึก มีอาการชาตามมือตามหน้า
ระดับความรู้สึกลดลงจนไม่รู้สึกตัว ไม่เป็นจังหวะ
Acute metabolic acidosis
การแปลผล
ค่า pH และค่า HCO3 ต่ำกว่าปกติ ส่วนค่า PaCO2 ปกติ
อาการและอาการแสดง
อาการปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย ประสาทสัมผัสเปลี่ยนไป มีอาการสั่นกระตุก (tremor) ชัก (convulsion)
Acute metabolic alkalosis
อาการและอาการแสดง
คล้ายกับ metabolic acidosis แต่ไม่มีอาการปวดศีรษะ
การแปลผล
ค่า pH และค่า HCO3 สูงกว่าปกติ ส่วนค่า PaCO2 ปกติ
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน
(Hemoglobin: Hb)
ผู้หญิง 11.5–16.5gm%
ผู้ชาย 13.0-18 gm%
การรักษาด้วยออกซิเจน ในภาวะhypoxia หรือhypoxemia
ระบบทางเดินหายใจ
การอุดกั้น
การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
ระบบเผาผลาญเมตาบอลิซึมผิดปกติต่าง ๆ
โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อย
ผู้ปุวยที่ได้รับการผ่าตัดโดยเฉพาะการผ่าตัดส่วนอกและช่องท้อง
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลายความผิดปกติ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคหัวใจชนิดต่างๆหรือภาวะช็อกจากสาเหตุต่างๆ
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ต่อมาหัวใจเต้นผิดจังหวะ บีบตัวช้าลง เจ็บหน้าอก และหัวใจหยุดเต้นในระยะสุดท้าย
ระบบประสาทส่วนกลาง
กระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะเพ้อ หมดสติ หรือชัก
ระบบทางเดินหายใจ
ผู้ปุวยมีอาการหายใจไม่สะดวกหายใจลำบากเมื่อนอนราบ (Orthopnea)
ระบบผิวหนัง
ผิวหนังผู้ปุวยเย็น ซีดต่อมาพบอาการเขียวคล้ำ
โดยเห็นชัดบริเวณริมฝีปาก เล็บมือเล็บเท้าและเสียชีวิตในที่สุด
ใช้เทคนิคการสังเกต และการประเมินสัญญาณชีพ
ระบบทางเดินอาหาร
ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้อาเจียนในระยะแรก
ปัจจัยที่มีผลตอการได้รับออกซิเจนของบุคคล
ระบบทางเดินหายใจเป็นระบบเปิดของร่างกายที่ติดต่อกับสิ่งแวดล้อมภายนอก โดยมีการนำอากาศจากภายนอก เข้าสู่ปอด
ผ่าน neural control และ chemical control
ทำใหเกิดการหายใจเขาและออก เพื่อนำออกซิเจนเขาสูปอด
แล้วกระจายไปยังเนื้อเยื่อ
หากมีความผิดปกติขึ้นในระบบนี้จะมีผลใหร่างกาย
ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอส่งผลให้เนื้อเยื่อ
ได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ มีคารบอนไดออกไซดคั่ง
เกิดพิษของคารบอนไดออกไซดก่อให้เกิดอันตรายถึงชีวิตได้
สภาวะต่างๆ ที่ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอกับความต้องการของร่างกา
อาหารที่มีไขมันมาก
ผู้สูงอายุ
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ
การสูบบุหรี่
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
ความเครียด
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
กลไกการหายใจของมนุษย์
การหายใจออก (Expiration)
กล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงมีการคลายตัวจึงทำให้กระดูกซี่โครงเลื่อนต่ำลงโดยกระบังลมที่เลื่อนต่ำลงก็จะกลับเลื่อนตัวสูงขึ้นดังนั้นจึงสามารถดันให้อากาศจากภายในปอดออกสู่ภายนอกได้
การหายใจในระดับเซลล์
เป็นกระบวนการทางเคมีที่เกิดขึ้นระหว่าง
ก๊าซออกซิเจนกับสารอาหารภายในเซลล์
ทำให้เกิด (adenosine triphosphate:ATP)
ขึ้นเพื่อไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
การหายใจเข้า (Inspiration)
กล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงหดตัวซึ่งจะทำให้กระดูกซี่โครงเลื่อนสูงขึ้น
กระบังลมก็จะหดตัวและเลื่อนต่ำลง
ดังนั้นอากาศจากภายนอกจึงสามารถผ่านเข้าสู่ปอดได้
กลไกควบคุมการหายใจ
การควบคุมภายใต้อำนาจจิตใจ
การหายใจที่สามารถบังคับได้ โดย cerebral cortex hypothalamus และ cerebellum
ทำให้เราสามารถควบคุม บังคับ หรือปรับการหายใจให้เหมาะสมกับพฤติกรรมต่างๆของร่างกาย
การควบคุมแบบอัตโนมัติ
เป็นการหายใจที่ไม่สามารถบังคับได้
โดยสมองส่วน pons และmedulla เป็นตัวสร้าง
และส่งสัญญาณประสาทไป
กระตุ้นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติ
ของระบบทางเดินหายใจ
Dyspnea
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
ดูแลให้ผู้ปุวยนอนศีรษะสูง
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer)
ฝึกให้ผู้ปุวยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Hemoptysis
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดปนออกมา
ไอจนมีเลือดสด
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
อุบัติเหตุ
การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่างๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
ถ้าเสียเลือดมากอาจต้องให้เลือด
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ผู้ปุวยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น (hyperventilation) พยาบาลต้องคอยปลอบโยน ให้กำลังใจ
อาการไอ (Cough)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
ดูแลความสะอาดของปากฟันและสิ่งแวดล้อม
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆ
กระตุ้นให้ดื่มน้ำอุ่นบ่อยๆ
ประเมินประสิทธิภาพการไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่และระยะเวลาของการไอ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough)
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
สาเหตุของการไอ
ฝุ่น ควัน สารเคมี อาหารหรือน้ำที่สำลักเข้าไป
ความร้อน -เย็นของอากาศจะทำให้การไอมากขึ้น
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ลักษณะของอาการไอ
ไอมีเสมหะ
เสมหะที่เป็นหนองมักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
ไอแห้งๆ ไม่มีเสมหะ
ไอเนื่องจากมีฝุุนละอองมาก
Chest pain
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
สังเกตอาการ
ประเมินหาสาเหตุของอาการ
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ปุวย
Hiccup
สาเหตุของอาการสะอึก
กินอิ่มมากเกินไป ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทำให้เกิดแก๊ส (Carbonate)ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูบบุหรี่จัด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด
แนะน าให้หายใจเข้าออกในถุงปิด
แนะน าให้กลั้นหายใจเป็นพักๆ
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนท าให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจหัวใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
decreased ability to concentrate
วิตกกังวล (anxiety) กระสับกระส่าย(restlessness)
decreased level of consciousness
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่างๆ
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
การให้ออกซิเจนชนิดT-piece
การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)
การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ(endotracheal tube: ET)
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
ชนิดละอองโต (Bubble)
ชนิดละอองฝอย (Jet)
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ า (Low flow system)
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula)
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
Oxygen pipeline
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้ ต้องให้ออกซิเจนผ่านน้ำเสมอก่อนเข้าสู่ผู้ป่วย
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias)
อาจเกิดการหยุดหายใจ ในผู้ปุวยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
ดังนั้นควรมีการเฝูาระวังในเรื่องการติดเชื้อ