Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
ขนส่งก๊าซ เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดหนึ่ง
มีหน้าที่ หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน
มีอายุขัยประมาณ120 วันร่างกายเรามีการทำลาย
และการสร้างเม็ดเลือดใหม่ตลอดเวลา
ส่วนประกอบของเม็ดเลือดแดง
Hemoglobin
ทำหน้าที่ในการ “จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง”
ความดันออกซิเจน ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
ความดันออกซิเจนและการขนส่งสู่เนื้อเยื่อ
หลังจากเลือดที่ออกจากปอดมีความดันออกซิเจน
ในเลือดสูงอยู่ เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจน
จำนวนน้อยสู่กระแสเลือดเพื่อส่งไปหาเซลล์ต่างๆ
เมื่อการ เดินทางไปในอวัยวะที่ไกลขึ้น
ความเข้มข้นออกซิเจนในเลือดลดลง เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนจำนวน มากขึ้นตามลาดับเพื่อให้ออกซิเจนออกมาอยู่ในกระแสเลือดเพื่อส่งไปสู่เซลล์
เลือดเป็นตัวกลางการ ส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์
ส่วน เม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจนที่จะค่อยๆ ปล่อยออกซิเจนออกมาเรื่อย ๆ
พบว่า ออกซิเจนในถุงลมยิ่งเยอะ ออกซิเจนในเลือด
ก็เยอะตาม และสุดท้ายออกซิเจนในเม็ดเลือดแดงก็จะ เยอะขึ้นตาม
การหมุนเวียนเพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ำ เพื่อเกิดสารประกอบ
กรดคาร์บอนิก (H2CO3) และแตกตัวเป็นไฮโดรเจนไออน (H+) กับไบคาร์บอเนต (HCO3)
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
ความหนาแน่นของอากาศลดลงมีผลให้ออกซิเจน
มี ระดับต่ำกว่าปกติ ทำให้ร่างกายได้ออกซิเจน
น้อยกว่าปกติ ความหนาแน่นของอากาศลดลง
มีผลให้ออกซิเจนมี ระดับต่ำกว่าปกติ
ร่างกายได้ออกซิเจนน้อยกว่าปกติ ถ้าร่างกายปรับตัวไม่ได้กับภาวะพร่องออกซิเจน ทำให้เกิดการภาวะพร่องออกซิเจน
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
ทำให้อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลง
การที่ร่างกายได้รับ สารพิษจากอากาศ ทำให้ร่างกาย
ต้องใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น เพื่อใช้ในขบวนการขจัดสารพิษ
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ
ร่างกายต้องการออกซิเจนมากกว่าปกติ
อาจทำให้ได้รับออกซิเจนไม่ทั่วถึงและเพียงพอ
ทำให้เหนื่อยเร็ว และอ่อนล้า
ความเครียด
ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ การหายใจถี่ขึ้น
ต้องการออกซิเจนมากขึ้น
อาหารที่มีไขมันมาก
มีปริมาณออกซิเจนน้อย เวลารับประทานอาหารที่มีไขมันมากจะทำให้ปริมาณออกซิเจนในเลือดต่าลง
ผู้สูงอายุ
ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น
การสูบบุหรี่
ปอดจะมีความสามารถในการรับออกซิเจนน้อยลง
ทำให้หลอดเลือดมีคาร์บอนไดออกไซด์มาก
และมี ออกซิเจนน้อย
การสูบบุหรี่เป็นระยะเวลานาน
ส่งผลให้เกิดอาการพร่องออกซิเจนเป็นมากขึ้น
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ใช้เทคนิคการสังเกต
และการประเมินสัญญาณชีพ
อุณหภูมิร่างกาย
ชีพจร
การหายใจ
ความดันโลหิต
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อ ประเมินการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และหลอดเลือด
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง
ตรวจเพื่อหา ประสิทธิภาพการทำงานของปอด
เพื่อประเมินความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซ และการหายใจ
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
ใช้ pulse oximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัด
ร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน
ยกเว้นผู้ป่วยโรคปอดอุดตันเรื้อรัง
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน
ค่าฮีโมโกลบินปกติในผู้หญิง 11.5 – 16.5 gm %
ค่าฮีโมโกลบินปกติ ผู้ชาย 13.0 - 18 gm %
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการ
ผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ (Cough)
เริ่มจากการที่มีสิ่งกระตุ้นตัวรับสัญญาณการไอ
หรือมีสารระคายเคืองในบริเวณทางเดิน หายใจ สวนบนและล่าง
สาเหตุของการไอ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
อาการไอน้อยกว่า 2 สัปดาห์
เกิดจาก ไข้หวัด การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่าง
ถ้าไอมากกว่า 2 สัปดาห์
เกิดจากหลอดลม อักเสบ จมูกและไซนัสอักเสบเรื้อรัง
หอบหืด หลอดลมอักเสบเรื้อรัง ปอดอักเสบเรื้อรัง จากการติดเชื้อ
หรือ มะเร็งหลอดลม
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้การไอมากขึ้น
ฝุ่น ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ำที่สำลักเข้าไป
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ
เนื่องจากมีฝุ่นละอองมาก
ไอมีเสมหะ ที่มีหนอง
เกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
Hemoptysis
การมีเลือดออกจากทางเดินหายใจตั้งแต่กล่องเสียงลงไป
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดสดออกมา พบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดปนออกมา
มีเสมหะและเลือดปนเป็นเนื้อเดียวกัน
พบในโรคมะเร็งของ หลอดลม หรือวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
มีเลือดเป็นสายปนกับเสมหะแต่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน
พบในโรค หลอดลมอักเสบเฉียบพลันและเรื้อรัง หรือมะเร็งหลอดลม
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม จากมีเลือดเก่า ๆ ปนออกมาด้วย พบในวัณโรคปอด
Hiccup
เป็นอาการที่เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อกระบังลมที่อยู่ตรงรอยต่อ ระหว่างช่องปอดและช่องท้อง ที่เกิดขึ้นเอง
โดยไม่สามารถควบคุมได้ ทำให้เกิดการหายใจเอาอากาศเข้าไปก่อน และจะหยุดหายใจเข้าทันที
สาเหตุของอาการสะอึก
อิ่มมากเกินไป ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทาให้เกิดแก๊ส (Carbonate) ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่จัด
หรือมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของกระเพาะอาหารทันที
ยาบางชนิด เช่น ยาเคมีบาบัดรักษาโรคมะเร็ง
มีก้อนในบริเวณลาคอ เช่น คอพอก
อาจสัมพันธ์กับปัญหาทาง จิตใจ หรือ อารมณ์
การสะอึกต่อเนื่อง หรือ อาการสะอึกที่ควบคุมรักษายาก
มักเป็นอาการสะอึกที่เกิดจากพยาธิ สภาพของโรค
โรคทางสมอง
โรคกรดไหลย้อน
โรคไตวาย
Dyspnea
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
ทางเดินหายใจอุดกั้นหรือปอดถูกทาลาย
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ
การทางานของหัวใจไม่ดี เนื่องจากกล้ามเนื้อบางส่วน
ของหัวใจตายหรือลิ้นรั่ว
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท ทำให้การควบคุมการหายใจไม่ดี
ผู้ป่วยโรคไขสันหลังอักเสบ
Chest pain
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ มักมีอาการเจ็บเฉพาะที่ และเจ็บเมื่อใช้มือกดที่บริเวณนั้น
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ มักเจ็บตรงบริเวณที่มีอาการอักเสบ และเจ็บมากเมื่อเวลาหายใจเข้าลึก ๆ หรือเวลาไอ ทาให้ผู้ปุวยต้องหายใจตื้น ๆ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
มักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บตลอดเวลา
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหัวใจ
ภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารีตีบแคบ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ
มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณหลังกระดูก อาจเจ็บตลอดเวลา
และเจ็บมากเมื่อเวลาไอ
อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเส้นประสาท
ผู้ป่วยโรคระสาทสันหลัง
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล กระสับกระส่าย
ระดับการมีสมาธิลดลง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น ขั้นรุนแรง
และพบ bradycardia
ช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก
ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น
ความดันโลหิตลดลง
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
ภาวะซีด
มีอากรเขียวคล้ำ
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุ้ม
หายใจลำบาก
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทาให้ออกซิเจนในเลือดต่า
เพิ่มปริมาณออกซิเจนในถุงลมปอด และกระแสเลือด
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
โดยเฉพาะผู้ปุวยโรคถุงลมโปุงฟอง
เป็นการช่วยการทางานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
มี ภาวะขาดออกซิเจนในเลือด คือ มีภาวะPaO2 < 60 mmHg หรือ SaO2 < 90 % เมื่อ หายใจเข้าในบรรยากาศปกติ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia
ตามมาหลังได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว
ผู้ป่วยหลังโดนไฟไหม้
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทำผ่าตัด
ดมยาสลบ
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อน
ที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ปุวยที่หายใจเอง
เมื่อค่า PaO2 ≥ 60 มม.ปรอท
เกิดภาวะปอดแฟบ (lung atelectasis) ออกซิเจนเป็นพิษ (oxygen toxicity) หรือกด การทางานของ cilia ที่กำลังพัดโบกกาจัดสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ และระบบภูมิคุ้มกันเม็ดเลือดขาว
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ป่วย
ที่ได้รับพิษจากparaquat
ขณะทาผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ ควรจากัดความเข้มข้นของออกซิเจนที่ใช้ในต่า ที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการติดไฟ
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจนโดยเฉพาะการให้ความชื้นแบบ nebulizer สามารถเพิ่มภาวะการติดเชื้อแบคทีเรียในทางเดินหายใจได้
เนื่องจากการสูดดม
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน บริเวณที่เกิดไฟไหม้จะทาให้ขบวนการติดไฟ เพิ่มความรุนแรงยิ่งขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วยเกี่ยวกับ
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ
หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้อง
ในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
อุปกรณ์และวิธีการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ
การใหออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula)
หรือ nasal prongs
เป็นการให้ออกซิเจนทางจมูก
วิธีนี้ผู้ป่วยจะได้รับออกซิเจนที่มีความเข้มข้นต่ำ
ผู้ปุวยสามารถดื่มน้าหรือรับประทานอาหารได้
โดยไม่ต้องปลดสายออก ไม่ค่อยรู้สึก อึดอัดหรือรำคาญและติดต่อสารกับผู้อื่นได้สะดวก
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
Simple mask
Reservoir bag (partial rebreathing mask)
เป็นการให้ออกซิเจนทางหน้ากากครอบปากและจมูกผู้ป่วย
โดยเปิดออกซิเจนเข้าในหน้ากาก วิธี นี้จะมีประสิทธิภาพมากที่สุด
Non rebreathing mask
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง
ผู้ป่วยจะได้รับออกซิเจนทั้งหมดจากอุปกรณ์
โดยไม่ต้องดึงอากาศไปผสม ความเข้มข้นของออกซิเจน กำหนดได้จากอุปกรณ์
การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)
การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ
(endotracheal tube: ET)
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
ระบบให้ความชื้นจะเป็นตัวกาหนด ขนาดละอองความชื้น โดยการเติมใช้น้ากลั่นปราศจากเชื้อเติมในขวด
ซึ่งมีลักษณะแตกต่างกัน ขึ้นกับขนาด ละอองน้าที่ต้องการ
ชนิดละอองโต (Bubble)
ชนิดละอองฝอย (Jet)
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
ก่อนใช้ออกซิเจนจากถังบรรจุออกซิเจน
ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของ ออกซิเจน
ออกจากแหล่งจัดเก็บออกซิเจน
ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
ก่อนใช้ออกซิเจนจากระบบท่อ ต้องมีอุปกรณ์ควบคุม
อัตรา การไหลของก๊าซเป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุม
การไหลของออกซิเจนออกจาก แหล่งจัดเก็บออกซิเจน
มาตามระบบท่อ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่า
ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง ในท่านี้จะช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น โดยกระบังลมจะหย่อนลง ทำให้ปอดขยายตัวเต็มที่ และมีปริมาณอากาศเพิ่มมากขึ้น
ผู้ป่วยที่หายใจลาบากทาให้นอนราบไม่ได้
ควรจัดท่า orthopnea position
ช่วยทำให้ช่องอกขยาย และทาให้ผู้ป่วย
รู้สึกสบายขณะพักและนอนหลับได้
การบริหารการหายใจ
วิธีการหายใจจะช่วยให้การระบายอากาศหายใจดีขึ้น
การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม (diaphragmatic breathing)
สามารถทำได้ในผู้ปุวยที่มีความผิดปกติ
ของการหายใจเรื้อรังและเฉียบพลัน
การหายใจโดยการห่อปาก (pursed - lip breathing)
จะช่วยลดการคั่ง ของอากาศในถุงลม โดยการรักษาความดันบวกในการหายใจ ทาให้หลอดลมขยายตัวนานกว่าปกติ
ช่วยให้อากาศออกจากถุงลมปอดได้มากขึ้น
การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing)
การหายใจเข้าลึก ๆ ช่วยขยายหลอดลม
กระตุ้นการสร้างสารเคลือบภายในปอด
ช่วยขยายพื้นที่การแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอด
การดูดเสมหะ (suction)
ช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่งออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายได้
เต็มที่ และไม่เกิดการอุดตันของทางเดินหายใจ
วิธีการดูดเสมหะ
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal)
หรือปาก (oropharyngeal suction)
มีความยืดหยุ่นให้สามารถสอดใส่เข้าทางรูจมูกผ่านไปถึงโพรงจมูกด้านหลังได้สะดวก หรือดูดเสมหะผ่านทางปาก
ซึ่งเป็นท่อขนาดใหญ่กว่าสอดใส่เข้าทางปากผ่านช่องปากไปถึงโคน ลิ้น
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ(Endotracheal)
หรือทางท่อหลอดคอ (tracheostomy suction)
เป็นการดูดเสมหะผ่านท่อช่วยหายใจEndotracheal
หรือทางท่อเจาะคอที่ เจาะผ่านหลอดลมออกมาภายนอก(tracheostomy tube)
ช่วยให้สามารถดูด เสมหะที่อยู่ในทางเดินหายใจส่วนล่างออกมาได้ง่าย โดยเฉพาะในกรณีที่ผู้ปุวยไม่รู้สึกตัว
ไม่สามารถไอขับ เสมหะออกได้
อาการแทรกซ้อน
แรงกด หรือการระคายเคืองบริเวณรูจมูกและริมฝีปากอาจทำให้เกิดแผล หรือเกิดแผลจากการดูดเสมหะหลาย ๆ ครั้ง
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
โพรงจมูกอักเสบ (sinusitis)
ภาวะหูอักเสบ (otitis)
เกิดการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ
ในขณะดูดเสมหะ
เกิดการสำลักจากการกระตุ้น gag reflex
หรือจัดท่าผู้ป่วยไม่ถูกต้อง
ริมฝีปากแห้งเกิดเป็นแผลได้ง่าย
อาจเกิดความผิดปกติในผู้ปุวยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และเกิดภาวะความดันในสมองสูง
การเก็บเสมหะส่งตรวจ
เพื่อให้ได้เสมหะแล้วบ้วนลงภาชนะสะอาดชนิดมีฝาปิดเสมหะควรมีลักษณะเป็นเมือก เหนียว ขุ่นข้น มีสีเหลือง
สีเขียว หรือสีแดงปน ปิดฝาให้สนิท นำส่งห้องปฏิบัติการ
การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ
การเก็บเสมหะแบบเพาะเชื้อ มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบว่าผู้ป่วยติดเชื้อชนิดใด และมีปฏิกิริยา ต่อยาปฏิชีวนะตัวใด และเพื่อปรับเปลี่ยนแผนการรักษา
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
เกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน การให้ออกซิเจนอุปกรณ์
ที่ใช้มีโอกาสก่อให้เกิดการติดเชื้อ ได้
น้ำกลั่นในขวด humidifier สายที่นำออกซิเจนมาสู่ผู้ป่วย
ทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
เกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
เกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias)
เกิดการหยุดหายใจ ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
เกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
เพราะการสันดาปเป็น ขบวนการที่เชื้อเพลิงทาปฏิกิริยา
กับออกซิเจนจนเกิดเป็น oxide มีความร้อนและพลังงาน เกิดขึ้น
เผาไหมแ้ละการระเบิดexplosion