Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 - Coggle Diagram
บทที่ 8
การไอ (cough) เป็นกลไกอย่างหนึ่งของร่างกายที่ช่วยในการขับสิ่ง
แปลกปลอมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นฝุ่น ควัน สารคัดหลั่ง หรือเชื้อโรคที่อยู่ใน
ระบบทางเดินหายใจให้ออกไปจากร่างกาย ท าให้ทางเดินหายใจโล่ง แต่
บางครั้งหากการไอนี้มีความรุนแรงจนรบกวนการใช้ชีวิตประจ าวันหรือเป็น
อันตรายแก่ผู้ป่วย ในกรณีนี้อาจจ าเป็นต้องได้รับยาในการรักษา เนื่องจากการ
ไอมีหลายรูปแบบ การเลือกใช้ยาก็จะมีความแตกต่างกัน
ยาแก้แพ้หรือยาต้านฮิสตามิน
เป็นกลุ่มยาที่มีโครงสร้างคล้ายสารฮิสตามีน (Histamine) ที่เมื่อรับประทาน
ยาเข้าไปแล้ว ยาจะเข้าไปจับกับตัวจับกับตัวรับของสารฮิสตามีน (Histamine
receptor) ที่อยู่บนผิวของเนื้อเยื่อตามระบบหายใจ เช่น ในโพรงจมูก
หลอดลม ถุงลม และตามผิวหนังต่างๆ แทนตัวสารฮิสตามีน
โรคภูมิแพ้
โรคภูมิแพ้มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับว่ากระบวนการแพ้ไปเกิดที่อวัยวะ
ส่วนไหน เช่น
โรคภูมิแพ้มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับว่ากระบวนการแพ้ไปเกิดที่อวัยวะ
ส่วนไหน เช่น
ถ้าเกิดที่เนื้อปอด ถุงลม หลอดลม จะท าให้หลอดลมหดเกร็ง มีอาการหอบ
เป็นโรคหืด
ยากลุ่มแอนติฮิสตามีน เป็นยาที่จัดว่าค่อนข้างปลอดภัย ไม่ค่อยพบอาการข้างเคียง/ผล ข้างเคียง
และอาการที่พบก็ไม่ค่อยรุนแรง ที่พบบ่อยได้แก่
Lenalidomide
ยา Lenalidomide เป็นยาที่ปรับเปลี่ยนภูมิคุ้มกันตัวใหม่ โดยไม่ต้องใช้วิธี
รักษาด้วยคีโมบ าบัด ยารักษาโรคมะเร็งซึ่งมีสรรพคุณการรักษาคล้ายคลึง
กับยา thalidomide แต่ผลการศึกษาในห้องวิจัยพบว่ายาดังกล่าวมี
ความสามารถในการบ าบัดมากกว่าและมีอาการข้างเคียงน้อยกว่ายา
thalidomide ทั้งน
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ ( Respiratory drugs )
a.กลุ่มยาที่มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์สั้น
(short-acting)
ยาที่ใช้ในการรักษาหอบหืด
ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
ยากลุ่มกระตุ้นตัวรับชนิดเบต้า-2 (beta-2 agonists)
ยากลุ่มนี้เป็นยากลุ่มแรกและเป็นกลุ่ม หลักที่น ามาใช้ในการรักษาหอบหืด จาก
ที่ได้กล่าวมาแล้วข้างต้นเกี่ยวกับตัวรับชนิด beta-2 receptor ซึ่งเป็นตัวรับ
ของระบบประสาท adrenergic nervous system พบมากที่หลอดลม เมื่อ
กระตุ้นตัวรับชนิดนี้จะมีผลท าให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมคลายตัว ยาใน
กลุ่มนี้จะกระตุ้นต่อตัวรับนี้อย่างจ าเพาะเจาะจง
ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้านโคลิเนอร์จิก
ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์(Corticosteroids)
ยากลุ่มยับยั้งการหลั่งสารสื่อจากเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับ
กระบวนการอักเสบ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ( COPD)
Chronic obstructive pulmonary disease
คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของปอด ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งของโรคปอด
อักเสบเรื้อรัง ซึ่งเกิดจากการที่ปอดได้รับความเสียหายจนก่อให้เกิด
ปัญหาทางด้านการหายใจ รวมถึงมีอาการโรคถุงลมโป่งพองและ
หลอดลมอักเสบเรื้อรังร่วมด้วย เช่น ไอมีเสมหะ เหนื่อยหอบ แน่น
หน้าอก เป็นต้น
การไออาจแบ่งได้เป็น 2 แบบ ได้แก่
ไอแบบไม่มีเสมหะ (dry or nonproductive cough) มีลักษณะเป็นการไอ
แห้งๆ ไอถี่ๆ แต่ไม่มีเสมหะออกมา อาจจ าเป็นต้องให้ยาระงับไอหรือยากด
การไอ (anti-tussives or cough suppressants)
การไอแบบมีเสมหะ (productive cough) การไอแบบนี้มีประโยชน์ในการ
ช่วยขับสิ่งแปลกปลอมหรือสารคัดหลั่งต่างๆ ออกจากทางเดินหายใจ ท า
ให้ทางเดินหายใจโล่ง จึงไม่ควรให้ยาระงับไอหรือยากดการไอ แต่หาก
เสมหะมีความข้นเหนียวมาก หรือแห้งเหนียวจนไม่สามารถขับออกมาได้
อาจให้ยาละลายเสมหะ (mucolytics) เพื่อให้เสมหะมีความอ่อนตัว ขับ
ออกได้ง่าย หรืออาจให้ยาขับเสมหะ (expectorants)