Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
บทที่ 7
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ระบบทางเดินหายใจ
เป็นระบบสำคัญระบบหนึ่งในร่างกายในการรักษาสมดุลก๊าซในกระแสเลือด โดยมีการทำงานสอดคล้องกับระบบหัวใจและหลอดเลือดระบบทางเดินหายใจมีหน้าที่ในการเติมก๊าซที่สำคัญ
กลไกการหายใจของมนุษย์
การหายใจเข้า (Inspiration)
การหายใจออก (Expiration)
การหายใจในระดับเซลล์
กระบวนการทางเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างก๊าซออกซิเจน
กับสารอาหารภายในเซลล์ทำให้เกิด
(adenosine triphosphate:ATP)
ขึ้นเพื่อไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
กลไกควบคุมการหายใจ
การควบคุมแบบอัตโนมัติ
เป็นการหายใจที่ไม่สามารถบังคับได้
การควบคุมภายใต้อำนาจจิตใจ
เป็นการหายใจที่ไม่สามารถบังคับได้
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับ
ออกซิเจนของบุคคล
ภาวะที่ร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอ
กับความต้องการของร่างกายมาจากสภาวะต่างๆ
ความเครียด
อาหารที่มีไขมันมาก
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
ผู้สูงอายุ
การสูบบุหรี่
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มี
อาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
Hiccup การสะอึก
สาเหตุของอาการสะอึก
โดยทั่วไป อาการสะอึกเป็นอาการปกติทั่วไป ไม่ได้เกิดจากโรค
โดยมีสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย
การสะอึกต่อเนื่องหรืออาการสะอึก
ที่ควบคุมรักษายาก
มักเป็นอาการสะอึกที่เกิดจากพยาธิ
สภาพของโรค โดยโรคที่พบบ่อย
เช่น โรคทางสมอง
โรคกรดไหลย้อน
โรคไตวาย
โรคตับวาย
ภาวะหลังผ่าตัดกระเพาะอาหารหรือในช่องท้อง
หรือหลังจากการใช้ยาสลบ
Dyspnea อาการหายใจลำบาก
อาการซึ่งผู้ป่วยต้องใช้ความพยายามหรือใช้แรงในการหายใจ
การหายใจลำบากไม่มีความสัมพันธ์กับความเร็วของการหายใจ
อาจเกิดขึ้นเมื่อผู้ป่วยหายใจถี่ หรือ หายใจช้าก็ได้
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
Hemoptysis อาการไอเป็นเลือด
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดปนออกมา
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
ไอจนมีเลือดสดออกมา พบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
อุบัติเหตุ
การอักเสบ
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่างๆ
เนื้องอก และมะเร็ง
การมีเลือดออกจากทางเดินหายใจตั้งแต่กล่องเสียง
ลงไป ไม่รวมเลือดกำเดา (epistaxis) มีปริมาณเลือดเห็นได้ชัดเจน
Chest pain อาการเจ็บหน้าอก
มีลักษณะแตกต่างกันตามสาเหตุดังนี้
สาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
สาเหตุจาก หัวใจ
สาเหตุจาก เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
สาเหตุจาก หลอดลมอักเสบ
สาเหตุจาก กล้ามเนื้ออักเสบ
สาเหตุจาก เส้นประสาท
อาการไอ (Cough)
เป็นกลไกการตอบสนองของร่างกายอย่างหนึ่งต่อสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจ และเป็นกลไก ป้องกันที่สำคัญของร่างกายในการกำจัดเชื้อโรค เสมหะ หรือสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจและเป็นอาการที่นำผู้ป่วยมาพบแพทย์ได้บ่อยที่สุด
สาเหตุของการไอ
ฝุุน ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ำที่สำลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้มีการไอมากขึ้น
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนอง
มักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้อง
ในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
1) ชนิดละอองโต (Bubble)
ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30 – 40 % สายให้ก๊าซมีขนาดเล็ก น้ำจะปุดเป็นฟองเมื่อเปิดให้กับผู้ป่วย มักใช้กับ oxygen cannula, simple face mask, และ partial rebreathing mask
2) ชนิดละอองฝอย (Jet)
ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียว มักเห็นเป็นหมอก สายให้ออกซิเจนมักมีขนาดใหญ่และเป็นลูกฟูก (corrugated)
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
1) ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
2) ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
ระบบการให้ออกซิเจน
1) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ
(Low flow system)
(1) การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว
(nasal cannula)
หรือ nasal prongs
ข้อดี
ผู้ป่วยสามารถดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารได้โดยไม่ต้องปลดสายออก ไม่ค่อยรู้สึกอึดอัดหรือรำคาญมากนัก และติดต่อสารกับผู้อื่นได้สะดวก
ข้อเสีย
อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง ทำให้เยื่อบุจมูกบวมและมีน้ำมูกออกมาอุดทำให้ท่อตันได้ จึงควรทำความสะอาดท่อและรูจมูกทุก
8 ชั่วโมง และปรับสายรัดรอบศีรษะของผู้ป่วยให้พอเหมาะ
ปรับอัตราไหลของออกซิเจน และเฝ้าระวังการเกิดแผลกดทับ
บริเวณใบหูที่กดกับสายยาง
(2) การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
(2.1) Simple mask
(2.2) Reservoir bag (partial rebreathing mask)
(2.3) Non rebreathing mask
2) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง
(High flow system)
(3) การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
(4) การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
(2) การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)
(5) การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET)
(1) การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งพอง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ
หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิต
และหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
โดยวิธีการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในถุงลมปอด และกระแสเลือด
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด คือ มีภาวะPaO2 < 60 mmHg
หรือ SaO2 < 90 % เมื่อหายใจเข้าในบรรยากาศปกติ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia ตามมาหลัง
ได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง (severe trauma)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
(acute myocardial infarction: MI)
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทำการผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
ของภาวะขาดออกซิเจน
ระดับการมีสมาธิลดลง (decreased ability to concentrate)
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (decreased level of consciousness)
วิตกกังวล (anxiety) กระสับกระส่าย (restlessness)
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น (increased fatigue)
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน (vertigo)
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป (behavior changes)
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น (increase pulse rate)
ขั้นรุนแรง และพบ bradycardia
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก
(increase rate and depth respiration)
ระยะต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น
(shallow and slow respiration)
ความดันโลหิตลดลง (blood pressure will decrease)
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ (cardiac dysthymias)
มีภาวะซีด (pallor)
มีอาการเขียวคล้ำ (cyanosis)
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุ้ม (clubbing
อาการหายใจลำบาก (dyspnea)
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่
อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจาก paraquat
ขณะทำการผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ (lung atelectasis) ออกซิเจนเป็นพิษ
(oxygen toxicity) หรือกดการทำงานของ cilia
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจน
โดยเฉพาะการให้ความชื้นแบบ nebulizer
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ป๋วยที่หายใจเอง
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน
การให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา (Oxygen therapy)
ในภาวะที่ระบบการหายใจทำงานเป็นปกติร่างกายจะ
ได้รับออกซิเจนเพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
แต่เมื่อร่างกายเกิดภาวะพร่องออกซิเจนจนกลายเป็น
เกิดภาวะขาดออกซิเจน จะพบอาการและ
อาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way)
3.2 ดูดเสมหะที่ค้างตามท่าทางเดินหายใจเป็นระยะๆ
เพื่อป้องกันการอุดตัน
3.3 สอนการไออย่างถูกวิธี เพื่อให้ระบายเสมหะออกมา
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.1 การจัดท่านอน ท่านั่ง ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย
และปอดขยายได้เต็มที่โดยให้อยู่ในท่าศีรษะสูง
3.4 กระตุ้นให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
เพื่อให้น้ำช่วยละลายเสมหะให้ขับออกได้ง่าย
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
4.3 ทาริมฝีปากด้วย กลีเซอรีน บอแรกซ์
4.4 ทำความสะอาดช่องจมูก
4.2 ถ้าเจ็บคอ ให้ล้างปากด้วยน้ำยา หรือบ้วนด้วยน้ำสะอาดบ่อยๆ
4.5 ดูแลความสะอาดบริเวณหน้า โดยเฉพาะในผู้ป่วยที่ได้รับ Oxygen mask จะมีเหงื่อออกมาก ควรเช็ด mask และทาแป้งให้บ่อยๆ
หรือทุก 2 - 3 ชั่วโมง เพื่อให้สบายขึ้น
4.1 ให้จิบน้ำบ่อยๆ
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
2.3 ออกซิเจนไม่รั่วจากขวดทำน้ำกลั่นที่ทำความชื้น
2.4 ถ้าเป็นออกซิเจนถัง จะต้องให้มีออกซิเจนอยู่เสมอ โดยดูจากที่
หน้าปัดบอกระดับของออกซิเจน ถ้าเหลือ 1/3 ของถัง ควรเตรียมถังใหม่เพื่อเปลี่ยนได้ทันทีและต้องตั้งถังอย่าล้มถังในขณะให้
2.2 ขวดทำความชื้นมีน้ำอยู่พอเหมาะไม่มากหรือน้อยจนเกินไป
2.5 เปลี่ยนและนำอุปกรณ์การใช้ออกซิเจน ไปทำความสะอาด
และทำให้ปลอดเชื้อ ถ้าเป็นอุปกรณ์ชนิดพลาสติก อาจขุ่นมีน้ำขัง
หรือหยดน้ำเกาะอยู่ ให้เทน้ำออกแล้วสลัดให้แห้ง
เพื่อไม่ให้กีดขวางทางนำออกซิเจนสู่ปอด
2.1 ตรวจดูสายยาง ให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง
ไม่เลื่อนหลุดจาก ที่รอยต่อต่างๆ ต้องคงที่ไม่บิดงอ ไม่อุดตัน
2.6 ถ้าให้ออกซิเจนจากระบบ pipeline ที่มีรูเปิด (outlet)
สำหรับเสียบ flow meterจะต้องดูให้ flow meter เสียบเข้าที่
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ ควรดูแลดังนี้
5.3 แนะนำ อธิบายให้ผู้ป่วยรู้จักเครื่องมือต่างๆได้ง่าย
5.4 ดูแลควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนให้เพียงพอ
ไม่ให้ผู้ป่วยอึดอัด
5.2 พยาบาลควรมีความชำนาญในการใช้เครื่องมือ
5.5 สนใจ รับฟังความต้องการของผู้ป่วยอย่างจิงจัง
5.1 บอกประโยชน์ของการได้รับออกซิเจน
5.6 ให้เวลาผู้ป่วยในการพูดคุย สัมผัสผู้ป่วยบ้างและรีบไปดูแลทันทีเมื่อผู้ป่วยขอความช่วยเหลือ
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วยเกี่ยวกับ
1.3 ระดับความรู้สึกตัว
1.4 วัดปริมาตรหายใจเข้า-ออกต่อครั้ง (Tridal Volume) ในกรณีที่ผู้ป่วยอาการหนักและมีเครื่องมือวัดโดยเฉพาะ
1.2 ความผิดปกติของสีผิว ดูลักษณะบริเวณริมฝีปาก เล็บมือ
เล็บเท้า ผิวหนังว่ามีอาการเขียวหรือไม่
ในรายที่ให้ออกซิเจนทางกระโจมสังเกตอาการหนาวสั่นด้วย
1.5 ติดตามผลค่าก๊าซให้ออกซิเจน (Blood gas)
1.1 ตรวจวัดสัญญาณชีพ ดูลักษณะ
และอัตราเร็วของการหายใจ
ความดันโลหิตและชีพจร
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบประสาทส่วนกลาง
ระบบผิวหนัง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินหายใจ
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง
(Arterial blood gas: ABG)
เป็นการตรวจเพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของปอด เพื่อประเมินความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซ และการหายใจค่าเหล่านี้บอกถึงความสามารถของ Hemoglobin (ฮีโมโกลบิน) ในการจับออกซิเจนเข้าสู่เซลล์ และนำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเซลล์
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
(Arterial oxygen saturation)
ใช้pulseoximeterเป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน(oxyhemoglobin)ต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน
(Hemoglobin: Hb)
สาเหตุของhypoxiaและหรือhypoxemia พบความผิดปกติของระบบต่างๆ ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน
3.โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อย
4.ระบบเผาผลาญเมตาบอลิซึมผิดปกติต่าง ๆ
2.ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย
ระบบทางเดินหายใจ
6.ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดโดยเฉพาะการผ่าตัดส่วนอกและช่องท้อง
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจน
ที่มีต่อร่างกาย
ความดันออกซิเจน
ทำให้เกิดการขนส่ง
ออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
เลือดเป็นตัวกลางการส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์
เม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจน
การหมุนเวียน
เพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ำ เพื่อเกิดสารประกอบ
กรดคาร์บอนิก(H2CO3) และแตกตัวเป็นไฮโดรเจนไออน(H+)
กับไบคาร์บอเนต(HCO3)
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ
Hemoglobin(ฮีโมโกลบิน)
จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
7.6.3 การดูดเสมหะ (suction)
วิธีการดูดเสมหะ
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal)
หรือปาก (oropharyngeal suction)
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ(Endotracheal)
หรือทางท่อหลอดคอ(tracheostomy suction)
7.6.2 การบริหารการหายใจ
1) การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม
(diaphragmatic breathing)
2) การหายใจโดยการห่อปาก (pursed - lip breathing)
3) การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing)
การจัดท่าผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่ำ (hypoxia) ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง (highfowler’s position) ในท่านี้จะช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias)
อาจเกิดการหยุดหายใจ ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
กระบวนการพยาบาลใน
การส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
5.3 ประเมินผลคุณภาพการบริการ
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)