Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กลไกการออกฤทธิ์ของยา ที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย - Coggle Diagram
กลไกการออกฤทธิ์ของยา
ที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันร่างกาย
การสร้างภูมิคุ้มกัน
-Active Immunization : Vaccine
-Passive Immunization: Immunoglobulin
วัคซีนในประเทศไทย
Inactivated หรือ Killed vaccine: ของเชื้อที่ตายแล้ว
Subunit vaccine: ใช้บางส่วนของแบคทีเรียหรือไวรัสที่เกี่ยวข้องกับการสร้างภูมิคุ้มกันมาทำ
Toxoid:ใช้พิษของแบคทีเรีย
Live attenuated vaccine:เชื้อมีชีวิตอยู่แต่ฤทธิ์อ่อนลง
ในเด็ก
route of administration
การกิน (oral route) ส่วนมากใช้กับวัคซีนที่มีชีวิต
เช่น oral polio, oral typhoid
การฉีดเข้าชั้นผิวหนัง (intradermal route)
การทำใ้แอนติเจนเข้าทางท่อน้ำเหลือง
การฉีดเข้าใต้ผิวหนัง (subcutaneous route) ส่วนมากใช้กับวัคซีนที่ไม่อยากให้ออกฤทธิ์เร็วเกินไเพราะอาจจะส่งผลร้ายแรง
การฉีดเข้ากล้ามเนื้อ (intramuscular route)
วัคซีนชนิด inactivated หรือ เช่น DPT, Hepatitis-B
ในผู้ใหญ่:บริเวณต้นแขน (deltoid)
ในเด็ก:บริเวณด้านข้างของต้นขาระดับกลาง
(mid-anterolateral thigh)
วิธีเก็บรักษา
เมื่อร่างกายได้รับแอนติเจนชนิดเดิมอีก memory cell
ซึ่งจดจำ antigen ไว้ จะกระตุ้นการตอบสนองของร่างกายรวดเร็วกว่าครั้งแรก เรียกว่า secondary response แอนติบอดีจะอยู่ได้นานและมีประสิทธิภาพมากกว่า
ยาที่มีผลกดภูมิคุ้มกัน
(immunosuppressive agents)
• ใช้ป้องกันและทำลำยภูมิคุ้มกันที่ร่างกายไม่ต้องการ เช่นการที่ไม่ยอมรับอวัยวะที่ปลูกถ่าย (organtransplantation) แล้วจำเป็นต้องใช้ยาในรักษาภาวะภูมิคุ้มกันต้านตนเอง
ความสำคัญ
สามารถกำจัดหรือต่อสู้กับโรคได้เลย
ทำให้เกิดโรคได้อย่ารวดเร็วและรุนแรงหากไม่ระมัดระวัง
สร้างภูมิคุ้มกันหรือปรับสมดุลให้เซล์
เพิ่มภูมิคุ้มกันไว้ก่อนเจอโรค