Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขมหภาค - Coggle Diagram
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุขมหภาค
ข้อแตกต่างเศรษฐศาสตร์จุลภาคและมหภาค
เศรษฐศาสตร์จุลภาค (Microeconomics)
ศึกษาพฤติกรรมและปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจในระดับหน่วยย่อย เช่น การกำหนดราคาของสินค้าแต่ละชนิด พฤติกรรมของผู้บริโภค ผู้ผลิต
เศรษฐศาสตร์มหภาค (Macroeconomics)
ศึกษาพฤติกรรมและปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจโดยส่วนรวม(Aggregate) เช่น ผลผลิตมวลรวม (Gross domestic product: GDP) การบริโภคมวลรวม รายได้ประชาชาติ การลงทุนมวลรวม การใช้จ่ายของรัฐบาล และการจ้างงาน
ปัจจัยที่มีผลต่อตัวแปรเศรษฐกิจมหภาค
ตัวแปรนโยบาย
เครื่องมือการดำเนินการต่างๆ ของรัฐบาล เพื่อให้เศรษฐกิจเป็นไปตามเป้าหมายที่ต้องการ
ตัวแปรภายนอก
เป็นสิ่งที่ควบคุมไม่ได้ แต่มีผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจของประเทศ
ลักษณะเศรษฐกิจที่พึงปรารถนา
อัตราเงินเฟ้อต่ำ
อัตราแลกเปลี่ยนที่ไม่ผันผวนมากและเหมาะสมกับสภาพเศรษฐกิจ
อัตราการว่างงานต่ำ
มีการกระจายรายได้ที่เป็นธรรม
อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีเสถียรภาพ
ความหมายรายได้ประชาชาติ
(National income)
ประชาชาติ
ประชากรหรือพลเมืองของประเทศนั้นๆ
รายได้ประชาชาติ
รายได้ที่ประชากรของประเทศได้รับจากการผลิตสินค้าและบริการ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งตามปกติก าหนดไว้ที่ 1 ปี
รายได้
ผลตอบแทนจากการผลิตสินค้าและบริการที่บุคคล
ได้รับ ไม่ว่าจะเป็นรูปของตัวเงินหรือสิ่งของ ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
ประเภทของรายได้ประชาชาติ (National income)
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ : NNP (Net National Product)
รายได้ประชาชาติ : NI (National income)
ผลิตภัณฑ์ในประเทศสุทธิ : NDP (Net Domestic Product)
รายได้ส่วนบุคคล : PI (Personal income)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ :GNP (Gross National Product)
รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ : DPI (Disposable Personal income)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ : GDP (Gross Domestic Product)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
การวัดรายจ่าย (Expenditure Approach)
การวัดรายได้ (Resource Cost - Income Approach)
ผลิตภัณฑ์ในประเทศสุทธิ : NDP (Net Domestic Product)
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ : NNP (Net National Product)
รายได้ประชาชาติ : NI (National income)
รายได้ส่วนบุคคล : PI (Personal income)
รายได้ส่วนบุคคลสุทธิ : DPI (Disposable Personal income)
ผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
มูลค่าของ GDP ประกอบด้วย 4 ส่วนหลัก
การใช้จ่ายของภาครัฐ
มูลค่าส่งออกสุทธิ โดยคำนวณมาจากมูลค่าการส่งออกของประเทศลบด้วยมูลค่าการนำเข้า
การจับจ่ายใช้สอยของผู้บริโภค ในชีวิตประจำวัน
การลงทุน ภาคธุรกิจที่ลงทุนในเครื่องจักร ที่ดิน อาคาร หรือระบบเทคโนโลยี และการลงทุนของคนทั่วไป เช่น การซื้อบ้านหรือที่อยู่อาศัย
แหล่งการคลังด้านสุขภาพและสาธารณสุข
กระทรวงสาธารณสุข
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
กระทรวงการคลัง
รัฐวิสาหกิจ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
องค์กรอิสระภาครัฐ
สำนักงานประกันสังคม
สำนักงานกองทุนเงินทดแทน
บริษัทประกันสุขภาพเอกชน
บริษัทประกันภัยตาม พ.ร.บ. คุ้มครองผู้ประสบภัยจากรถยนต
นายจ้าง
ครัวเรือน
องค์กรไม่แสวงหากำไร
กระทรวงอื่นๆ
ความช่วยเหลือจากต่างประเทศ