Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
1 ปัจจัยที่มีผลตอการได้รับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง ภาวะดังกล่าวจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลง มีผลให้ออกซิเจนมีระดับต่ำกว่าปกติ
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง ภาวะดังกล่าวทำให้อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลง
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ ขณะออกกำลังกาย
ความเครียด ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ การหายใจถี่ขึ้น ต้องการออกซิเจนมากขึ้น
อาหารที่มีไขมันมาก จะมีปริมาณออกซิเจนน้อย เวลารับประทานอาหารที่มีไขมันมากจะทำให้ปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำลง
ผู้สูงอายุ ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น
การสูบบุหรี่
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
5 เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
1) ชนิดละอองโต (Bubble)
ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดิ
2) ชนิดละอองฝอย (Jet)
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
2) ระบบท่อ (Oxygen pipeline) ก่อนใช้ออกซิเจนจากระบบท่อ ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ (regulation of gas flow)
1) ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank) ก่อนใช้ออกซิเจนจากถังบรรจุออกซิเจน ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ (regulation of gas flow)
ระบบการให้ออกซิเจน
1) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ (Low flow system)
(1) การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula) หรือ nasal prongsเป็นการให้ออกซิเจนทางจมูก
ข้อดี ผู้ป่วยสามารถดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารได้โดยไม่ต้องปลดสายออก ไม่ค่อยรู้สึกอึดอัดหรือรำคาญมากนัก และติดต่อสารกับผู้อื่นได้สะดวก
ข้อเสีย อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง ทำให้เยื่อบุจมูกบวมและมีน้ำมูกออกมาอุดทำ
ให้ท่อตันได้
(2) การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask) เป็นการให้ออกซิเจนทางหน้ากากครอบปากและจมูกผู้ป่วย
Simple mask เป็นชนิดที่ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 40-50
Reservoir bag (partial rebreathing mask) ให้ความเข้มข้นสูงกว่าร้อยละ 60–90 ซึ่งสูงกว่าชนิดไม่มีถุงชนิดนี้
Non rebreathing mask ลักษณะคล้าย partial rebreathing ยกเว้นรูระบายอากาศส่วนหน้ากากลักษณะเป็นลิ้นไหลทางเดียว ทั้ง 2 ข้าง
2) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
(1) การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
(2) การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar) เป็นอุปกรณ์คล้ายหน้ากากคล้องไว้กับคอ ครอบบนท่อเจาะหลอดลมคอ
(3) การให้ออกซิเจนชนิด croupette tentเป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนที่ครอบตัวผู้ป่วยลักษณะ
คล้ายเต็นท์ ประกอบด้วยมุ้งพลาสติก มีซิบเปิด-ปิด ครอบบนโครงโลหะ
(4) การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box เป็นอุปกรณ์ใช้ครอบศีรษะและไหล่ผู้ป่วยเด็ก ลักษณะเป็นกระโจมหรือกล่องพลาสติกให้ออกซิเจนมีท่อนาออกซิเจนเข้าภายใน
(5) การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET) เป็นท่อช่วยหายใจซึ่งแพทย์จะใส่ท่อนี้เข้าไปในหลอดลมของผู้ป่วย แล้วต่อเข้ากับเครื่องช่วยหายใจ (respirator) ใช้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจเองได้
3 สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
1 อาการไอ (Cough)
สาเหตุ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ มีอาการไอน้อยกว่า 2 สัปดาห์ อาจเกิดจากไข้หวัด การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่าง และถ้าไอมากกว่า 2 สัปดาห์ อาจเกิดจากหลอดลมอักเสบ
ฝุน ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้าที่สำลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทาให้การไอมากขึ้น
ลักษณะการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ เช่น ไอเนื่องจากมีฝุนละอองมาก เป็นต้น
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนอง มักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจบวมเเละวัณโรคปอด เช่น โรคปอด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
ประเมินประสิทธิภาพการไอ ลักษณะไอแห้ง ๆ หรือไอแบบมีเสมหะ โดยการฟังเสียงไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลาของการไอ
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจานวน ลักษณะ สี และกลิ่นของเสมหะด้วย
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
กระตุ้นให้ดื่มน้ำอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก เพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ เพื่อให้เสมหะที่ค้างในปอดเคลื่อนออกมาได้ง่าย จากการเปลี่ยนท่าหรืออิริยาบถ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough) โดยการให้ผู้ป่วยนั่งหรือนอนยกศีรษะสูง (Fowler’s position) และหายใจเข้าลึก ๆ เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง กลั้นหายใจสักครู่ แล้วไอออกมาอย่างเเรง
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
2 Hemoptysis อาการไอเป็นเลือด
ขนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดสดออกมา พบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดปนออกมา คือ มีเสมหะและเลือดปนเป็นเนื้อเดียวกัน พบในโรคมะเร็งของหลอดลม หรือวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย มีเลือดเป็นสายปนกับเสมหะแต่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน พบในโรคหลอดลมอักเสบเฉียบพลันและเรื้อรัง หรือมะเร็งหลอดลม
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม จากมีเลือดเก่า ๆ ปนออกมาด้วย พบในวัณโรคปอด
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
อุบัติเหตุ
การอักเสบ ทำให้เกิดอาการไออย่างรุนแรง หรือมีแผลในคอ กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ และในเนื้อปอด
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ ทำให้เกิดการไอเป็นเลือดได้ เช่น หลอดเลือดที่เลี้ยงปอดอุดตัน
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและความรุนแรงของการเสียเลือด
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด และพยาบาลจะต้องเฝ้าระวังการแพ้เลือดที่อาจเกิดขึ้นได้
ผู้ป่วยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น (hyperventilation) พยาบาลต้องคอยปลอบโยน ให้กำลังใจ และให้การดูแลจนผู้ป่วยควบคุมตนเองได้
3 Hiccup การสะอึก
อาการสะอึกเป็นอาการปกติทั่วไป ไม่ได้เกิดจากโรค โดยมีสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย เช่น กินอิ่มมากเกินไป ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทาให้เกิดแก๊ส (Carbonate) ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่จัด เป็นต้น
การสะอึกต่อเนื่อง หรือ อาการสะอึกที่ควบคุมรักษายาก มักเป็นอาการสะอึกที่เกิดจากพยาธิสภาพของโรค โดยโรคที่พบบ่อย เช่น โรคทางสมอง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน เช่น แอมโมเนีย เป็นต้น
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด เช่น น้ำมะนาว เป็นต้น หรือดื่มน้ำเปล่า
แนะนำให้หายใจเข้าออกในถุงปิด เพื่อเพิ่มก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ เช่น ชวนคุยในเรื่องที่สนุกตื่นเต้น เป็นต้น
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม เช่น ถือแก้วน้ำแล้วหลุดออกจากมือขณะสะอึก หรือขณะรับประทานอาหารอาจสำลักได้
4 Dyspnea อาการหายใจลำบาก
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น ทางเดินหายใจอุดกั้น หรือปอดถูกทำลาย เป็นต้น
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ เช่น การทำงานของหัวใจไม่ดี เนื่องจากกล้ามเนื้อบางส่วนของหัวใจตายหรือลิ้นหัวใจรั่ว
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท ทำให้การควบคุมการหายใจไม่ดี เช่น โรคไขสันหลังอักเสบ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพตามความเหมาะสม ทุก 1 - 2 ชั่วโมง
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ สาหรับช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer) เพื่อให้หายใจสะดวก
ฝึกให้ผู้ปุวยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดอาการหายใจลำบาก
5 Chest pain อาการเจ็บหน้าอก
มีลักษณะแตกต่างกันตามสาเหตุ
1) สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ มักมีอาการเจ็บเฉพาะที่ และเจ็บเมื่อใช้มือกดบริเวณนั้นๆ
2) สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ มักเจ็บตรงบริเวณที่มีอาการอักเสบ และมักเจ็บมากเมื่อเวลาหายใจเข้าลึกๆ หรือเวลาไอ
3) สาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บตลอดเวลา
4) สาเหตุจากหัวใจ เช่น ภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารี ตีบแคบ มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณกระดูก sternum โดยเฉพาะเวลาออกกำลังกาย
5) สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณหลังกระดูกอาจเจ็บตลอดเวลา และเจ็บมากเมื่อเวลาไอ
6) สาเหตุจากเส้นประสาท
5 Chest pain อาการเจ็บหน้าอก
มีลักษณะแตกต่างกันตามสาเหตุ
1) สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ มักมีอาการเจ็บเฉพาะที่ และเจ็บเมื่อใช้มือกดบริเวณนั้นๆ
2) สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ มักเจ็บตรงบริเวณที่มีอาการอักเสบ และมักเจ็บมากเมื่อเวลาหายใจเข้าลึกๆ หรือเวลาไอ
3) สาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บตลอดเวลา
4) สาเหตุจากหัวใจ เช่น ภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารี ตีบแคบ มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณกระดูก sternum โดยเฉพาะเวลาออกกำลังกาย
5) สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณหลังกระดูกอาจเจ็บตลอดเวลา และเจ็บมากเมื่อเวลาไอ
6) สาเหตุจากเส้นประสาท
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
ประเมินหาสาเหตุของอาการว่า อาการเจ็บหน้าอกเกิดจากหัวใจหรือ ปอด
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
สังเกตอาการ ถ้าผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดที่เยื่อหุ้มปอด ควรแนะนำให้นอนตะแคงทับด้านที่เป็นเป็น ถ้าอาการไม่ดีขึ้น อาจต้องให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
2 การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
1 การประเมินสภาพร่างกาย
ใช้เทคนิคการสังเกต และการประเมินสัญญาณชีพ พบว่า
1) ระบบทางเดินหายใจ ระยะแรกของเซลล์พร่องออกซิเจนอย่างอ่อน
3) ระบบประสาทส่วนกลาง สังเกตและประเมินพบ ความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลง
กระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ
4) ระบบผิวหนัง ระยะแรก พบว่า ผิวหนังผู้ป่วยเย็น ซีด ต่อมาพบอาการเขียวคล้า โดยเห็นชัด บริเวณริมฝีปาก เล็บมือเล็บเท้า และเสียชีวิตในที่สุด
5) ระบบทางเดินอาหาร ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนในระยะแรก
2) ระบบหัวใจและหลอดเลือด ประเมินพบ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นในระยะแรก ระยะต่อมาหัวใจเต้นผิดจังหวะ บีบตัวช้าลง เจ็บหน้าอก และหัวใจหยุดเต้นในระยะสุดท้าย
2 การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เพื่อประเมินการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และหลอดเลือดและการแปลผล ดังนี้
1) ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas: ABG) เป็นการตรวจเพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของปอด
pH เป็นตัวชี้วัดภาวะความเป็นกรดด่างของร่างกาย ค่าปกติ อยู่ระหว่าง 7.35-7.45
PaO2 เป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงปริมาณของออกซิเจน (O2) ในเลือดที่จับกับHemoglobin
HCO3 เป็นการวัดค่าความเข้มข้นไฮโดรเจนไอออน (HCO3-) ในเลือดที่ช่วยบอกการทางานของไต
SaO2 เป็นค่าเปรียบเทียบระหว่าง Hemoglobin ที่มี O2 ที่อิ่มตัวกับความสามารถสูงสุดของHemoglobin ที่จะจับกับ O2 ได้
PaCO2 เป็นการวัดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์ ในเลือด
2) ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation)
ใช้ pulse oximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน ต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
3) การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb)
ค่าปกติในผู้หญิง
11.5 – 16.5 gm %
ในผู้ชาย 13.0 - 18 gm %
สาเหตุของ hypoxia และหรือ hypoxemia พบความผิดปกติของระบบต่าง ๆ ผู้ป่วยที่จำเป็น
ต้องได้รับการรักษาด้วยออกซิเจน ดังนี้
ระบบทางเดินหายใจ เช่น การอุดกั้น การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคหัวใจชนิดต่าง ๆ หรือภาวะช็อกจากสาเหตุต่าง ๆ
โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อย เช่น ภาวะโลหิตจาง เป็นต้น
ระบบเผาผลาญเมตาบอลิซึมผิดปกติต่าง ๆ
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ การบาดเจ็บของสมองและได้รับยาที่กดการหายใจ
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดโดยเฉพาะการผ่าตัดส่วนอกและช่องท้อง
4 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน (การให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา)
1 อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล (anxiety) กระสับกระส่าย (restlessness)
ระดับการมีสมาธิลดลง (decreased ability to concentrate)
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (decreased level of consciousness)
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น (increased fatigue)
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน (vertigo)
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป (behavior changes)
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น (increase pulse rate) ขั้นรุนแรง และพบ bradycardia
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก (increase rate and depth respiration) ระยะต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น (shallow and slow respiration)
ความดันโลหิตลดลง (blood pressure will decrease)
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ (cardiac dysthymias)
มีภาวะซีด (pallor)
มีอาการเขียวคล้า (cyanosis)
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุูม (clubbing)
อาการหายใจลาบาก (dyspnea)
2 วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ โดยวิธีการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในถุงลมปอด และกระแสเลือด
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งฟอง
เป็นการช่วยการทางานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
3 ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ปุวยที่ได้รับพิษจาก paraquat
ขณะทำผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ ควรจากัดความเข้มข้นของออกซิเจนที่ใช้ในต่ำที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการติดไฟ ด้วยคุณสมบัติเคมีของออกซิเจนเอง
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ (lung atelectasis) ออกซิเจนเป็นพิษ (oxygen toxicity) หรือกดการทำงานของ cilia ที่กาลังพัดโบกกาจัดสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจน โดยเฉพาะการให้ความชื้นแบบ nebulizer
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ป่วยที่หายใจเอง
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน บริเวณที่เกิดไฟไหม้จะทำให้ขบวนการติดไฟเพิ่มความรุนแรงยิ่งขึ้น
3 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วยเกี่ยวกับ
1.1 ตรวจวัดสัญญาณชีพ ดูลักษณะ และอัตราเร็วของการหายใจ ความดันโลหิตและชีพจร
1.2 ความผิดปกติของสีผิว ดูลักษณะบริเวณริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้า ผิวหนังว่ามีอาการเขียวหรือไม่
1.3 ระดับความรู้สึกตัว
1.4 วัดปริมาตรหายใจเข้า-ออกต่อครั้ง (Tridal Volume) ในกรณีที่ผู้ป่วยอาการหนักและมีเครื่องมือวัดโดยเฉพาะ
1.5 ติดตามผลค่าก๊าซให้ออกซิเจน (Blood gas)
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
1 ตรวจดูสายยาง ให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง ไม่เลื่อนหลุดจากที่รอยต่อต่างๆ ต้องคงที่ไม่บิดงอ อุดตัน
2 ขวดทำความชื้นมีน้ำอยู่พอเหมาะไม่มากหรือน้อยจนเกินไป
3 ออกซิเจนไม่รั่วจากขวดทาน้ำกลั่นที่ทำความชื้น
4 ถ้าเป็นออกซิเจนถัง จะต้องให้มีออกซิเจนอยู่เสมอ โดยดูจากที่หน้าปัดบอกระดับของออกซิเจน ถ้าเหลือ 1/3 ของถัง ควรเตรียมถังใหม่เพื่อเปลี่ยนได้ทันทีและต้องตั้งถังอย่าล้มถังในขณะให้
5 เปลี่ยนและนำอุปกรณ์การใช้ออกซิเจน ไปทำความสะอาดและทำให้ปลอดเชื้อ
6 ถ้าให้ออกซิเจนจากระบบ pipeline ที่มีรูเปิด (outlet) สาหรับเสียบ flow meterจะต้องดูให้ flow meter เสียบเข้าที่
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way) ให้โล่งตลอดเวลา
1 การจัดท่านอน ท่านั่ง ให้ผู้ป่วยรู้สึกสบาย และปอดขยายได้เต็มที่โดยให้อยู่ในท่าศีรษะสูง
2 ดูดเสมหะที่ค้างตามท่าทางเดินหายใจเป็นระยะๆ เพื่อป้องกันการอุดตัน
3 สอนการไออย่างถูกวิธี เพื่อให้ระบายเสมหะออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
4 กระตุ้นให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อให้น้ำช่วยละลายเสมหะให้ขับออกได้ง่าย
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆหรือทุก2 - 3 ชั่วโมง
1 ให้จิบน้ำบ่อยๆ
2 ถ้าเจ็บคอ ให้ล้างปากด้วยน้ำยา หรือบ้วนด้วยน้ำสะอาดบ่อยๆ
3 ทาริมฝีปากด้วย กลีเซอรีน บอแรกซ์
4 ทำความสะอาดช่องจมูก
5 ดูแลความสะอาดบริเวณหน้า โดยเฉพาะในผู้ปุวยที่ได้รับ Oxygen mask
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ ควรดูแลดังนี้
1 บอกประโยชน์ของการได้รับออกซิเจน
2 พยาบาลควรมีความชานาญในการใช้เครื่องมือ
3 แนะนำ อธิบายให้ผู้ป่วยรู้จักเครื่องมือต่างๆได้ง่าย
4 ดูแลควบคุมอัตราการไหของออกซิเจนให้เพียงพอ ไม่ให้ผู้ป่วยอึดอัด
5 สนใจ รับฟังความต้องการของผู้ป่วยอย่างจิงจัง
6 ให้เวลาผู้ป่วยในการพูดคุย สัมผัสผู้ป่วยบ้างและรีบไปดูแลทันทีเมื่อผู้ป่วยขอความช่วยเหลือ
6 บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
2 การบริหารการหายใจ
1) การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม (diaphragmatic breathing)
วิธีปฏิบัติ
ตรวจดูให้แน่ใจว่าจมูก หลอดลม ไม่มีน้ำมูก หรือเสมหะ และไม่มีอาการบวมคั่ง ถ้ามีน้ำมูกหรือเสมหะให้พ่นละอองไอน้ำ ดูดเสมหะออก กระตุ้นให้ผู้ป่วยไอหรือระบายเสมหะด้วยการจัดท่าเสียก่อน
ช่วยเหลือผู้ป่วยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย อาจอยู่ในท่านั่งหรือนอนศีรษะสูงเล็กน้อย
สอนผู้ป่วยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก (ปิดปากให้สนิท) ขณะผู้ป่วยสูดหายใจให้ดันกระบังลมลงให้ต่าและใช้แรงดันผนังหน้าท้องให้ขยายออก
แนะนาให้ผู้ป่วยหยุดหายใจช้าๆ หลังหายใจเข้าลึกเต็มที่แล้วเป่าลมออกทางปากช้า ๆ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยหดเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้องไล่อากาศออกจากปอดให้มากที่สุด
อธิบายให้ผู้ปุวยเปุาลมออกทางปากช้า ๆ ประมาณ 2 – 3 เท่า ของระบบการหายใจเข้า
หลังจากฝึกปฏิบัติจนชำนาญแล้ว อาจใช้ของหนักประมาณ 5 ปอนด์ วางบนหน้าท้องเพื่อเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหน้าท้อง
ให้ผู้ป่วยฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลมหายใจครั้งละ 10 – 20นาที ทุกชั่วโมง จนเกิดความเคยชิน
2) การหายใจโดยการห่อปาก (pursed - lip breathing)
วิธีการปฏบัติ
ช่วยเหลือผู้ปุวยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย
แนะนำผู้ป่วยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก (ปิดปากให้สนิท) และค่อย ๆ หยุดหายใจช้า ๆเมื่อหายใจเข้าเต็มที่ ทำติดต่อกัน 3 ครั้ง
แนะนำผู้ป่วยให้หายใจออกทางปากช้า ๆ โดยการห่อปาก
อธิบายให้ผู้ป่วยตั้งใจเป่าลมออกทางปากช้า ๆ
ใช้วิธีการหายใจ เมื่อผู้ปุวยมีการหายใจสั้น และฝึกการหายใจ 5-10 นาที วันละ 4 ครั้ง
เนื่องจากหายใจลาบาก ถ้าผู้ป่วยฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง จะช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ป่วย
3) การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing)
วิธีการปฏิบัติ
จัดท่าให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ และไอได้สะดวก
รวบตรึงบริเวณผ่าตัดด้วยหมอน โดยใช้มือกอดหมอน หรือรวบหมอนกดให้แน่นขณะที่ผู้ป่วยไอ ถ้าผู้ป่วยทาไม่ได้พยาบาลต้องช่วยเหลือ
แนะนาให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ อย่างช้า ๆ ในกรณีผู้ป่วยหลังการผ่าตัด ควรให้ยาระงับปวดก่อน 20 – 30 นาที
แนะนาผู้ป่วยให้กลั้นหายใจและไอออกแรงๆ
เตรียมกระดาษเยื่อและชามรูปไต หรือกระโถนให้ผู้ป่วย
3 การดูดเสมหะ (suction)
การช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง ปฏิบัติดังนี้
1 ทำการดูดเสมหะออก
2 จัดท่านอนให้เหมาะสม กระตุ้นให้เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ
3 กระตุ้นให้ไอบ่อย ๆ และให้ดื่มน้ำมาก ๆ ให้เสมหะอ่อนตัวไอออกได้ง่าย
1.4 การทำ postural drainage เป็นการจัดท่าเพื่อช่วยระบายเสมหะที่ค้างอยู่
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด ปฏิบัติดังนี้
1 จัดท่านอนศีรษะสูง
2 กระตุ้นให้ผู้ป่วยหายใจลึก ๆ บ่อยๆ
3 จัดให้มีการออกกาลังกายตามความสามารถของผู้ป่วย
4 ป้องกันอาการท้องอืดที่อาจเกิดขึ้น โดยให้อาหารที่ย่อยง่ายครั้งละน้อย ๆ แต่บ่อยครั้งและงดอาหารที่ทาให้เกิดก๊าซง่าย
5 ใส่เสื้อผ้าที่สวมสบายให้แก่ผู้ป่วย
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
การผ่อนคลายความวิตกกังวล
วิธีการดูดเสมหะ
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal) หรือปาก (oropharyngeal suction)
การดูดเสมหะทางปาก
สังเกตแบบแผนและลักษณะการหายใจค่อนข้างแรงมาก อัตราการหายใจเร็ว
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงเสมหะ (adventitions sound)
สังเกตอาการเหนื่อย หายใจลาบาก ได้ยินเสียงดังขณะหายใจเข้าและออก
สังเกตลักษณะสีผิว เล็บ และริมฝีปาก มีอาการ cyanosis
สังเกตอาการซึมลงของผู้ป่วย
ประเมินอาการไอมีประสิทธิภาพที่จะขับเสมหะออกได้ลดลง
สังเกตลักษณะเสมหะ เหนียว และมีจานวนมาก
สังเกตอาการอาเจียนหรือขย้อนอาหารอยู่ในปาก
อาการเเทรกซ้อน
แรงกด หรือการระคายเคืองบริเวณรูจมูกและริมฝีปากอาจทำให้เกิดแผล
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
เกิดการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ ในขณะดูดเสมหะ ต้องทำการดูดเสมหะอย่างเบามือ
อาจเกิดการสำลักจากการกระตุ้น gag reflex หรือจัดท่าผู้ป่วยไม่ถูกต้อง
ริมฝีปากแห้งเกิดเป็นแผลได้ง่าย ให้ทาครีมทุกครั้งหลังทำความสะอาดปาก
อาจเกิดความผิดปกติในผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และเกิดภาวะความดันในสมองสูง
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ (Endotracheal) หรือทางท่อหลอดคอ(tracheostomy suction)
1 การจัดท่าผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่ำ (hypoxia) ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง (high
fowler’s position) ในท่านี้จะช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
ผู้ป่วยที่หายใจลำบากทำให้นอนราบไม่ได้ ควรจัดท่า orthopnea position เป็นท่าศีรษะสูงต้องอยู่ในท่านั่งหรือฟุบหลับบนเก้าอี้ โดยใช้หมอน 3 – 4 ใบ วางซ้อนกันและตัวผู้ป่วยฟุบพาดโต๊ะ ท่านี้จะช่วยทำให้ช่องอกขยาย และทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายขณะพักและนอนหลับได้
7 ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
มีข้อควรปฏิบัติและต้องคำนึงถึง
อาจเกิดการหยุดหายใจ ในผู้ปุวยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias) คือ การได้รับออกซิเจนความเข้มข้นสูงเป็นระยะเวลานาน ๆ จะเกิดกับหลอดเลือดหลังเลนส์เปลี่ยนแปลง
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด เพราะการสันดาป (combustion) เป็นขบวนการที่เชื้อเพลิงทำปฏิกิริยากับออกซิเจนจนเกิดเป็น oxide มีความร้อนและพลังงาน เกิดขึ้น
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด ออกซิเจนจะก่อพิษในปอดได้หากได้รับในระยะเวลานานคือ 24 – 48 ชั่วโมง
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน