Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
9.2 การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ - Coggle Diagram
9.2 การติดเชื้อที่มาจากโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์
การตกขาวผิดปกติ
ภาวะที่มีการตกขาวเพิ่มมากกว่าปกติ มีอาการคัน/ปวดแสบปวดร้อน มีกลิ่นเหม็นร่วมด้วย
1.1.Vulvovaginal candidiasis
เกิดจากเชื้อรากลุ่ม candida albicans = normal flora
อาการและอาการแสดง
คัน/ระคายเคืองช่อคลอดและปากช่องคลอด เป็นผื่นแดง บวม ตกตะก่อนแบบ Curd-linked discharge/cottage-cheese vaginal discharge และจะเกาะติดแน่นผนังช่องคลอด dyspareunia, external dysuria
ปัจจัยเสี่ยง
ได้รับABO,ฮอร์โมนSteroid/ยากดภูมิ ทานยาคุมกำเนิดที่มีฮอร์โมนมาก ภูมิต้านทานถูกกด ควบคุมเบาหวานไม่ดี ทานแป้งและน้ำตาลมาก สวมใส่ชุดชั้นในแน่นเกินไป ใช้น้ำยาล้างช่องคลอดบ่อย ๆ ใส่Carefreeไม่เปลี่ยน/ไม่สะอาด เครียด การตั้งครรภ์ ขบวนการเผาผลาญคาร์โบไฮเดรตขณะตั้งครรภ์
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ ไม่มีผลต่อสตรีตั้งครรภ์
ต่อทารก oral thrush
การประเมินและวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
3.1 wet mount smear
3.2 gram stain
การรักษา
ยารักษาภายนอกเฉพาะที่ 2% Miconazole cream, Miconazole, Clotrimazole and 1% Clotrimazole cream
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบาย แนะนำการใช้ยาทา/ยาเหน็บ การทำความสะอาดอวัยวะ
ระยะคลอด
คลอดทางช่องคลอดปกติ
ระยะหลังคลอด
ดูแลเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป เน้นการดูแลความสะอาดอวัยวะ เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้
1.2.Vaginal trichomoniasis
เกิดจากเชื้อโปรโตซัว trichomonas vaginalis
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ ถุงน้ำแตกและเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ต่อทารกคลอดก่อนกำหนดและLBW
อาการและอาการแสดง
ตกขาวมีสีเทา/สีเหลืองเขียว เป็นฟอง มีกลิ่นเหม็น มีจุดเลือกออกเป็นหย่อมๆ strawberry spot
การรักษา
ไตรมาสแรก Clotriamazole
ไตรมาสอื่นๆ Metronidazole
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
คำแนะนำ การเหน็บยา/ทานยา การมีเพศสัมพันธ์สวมถุงยาง การรักษาความสะอาดอวัยวะ
ระยะคลอด
คลอดทางช่องคลอดปกติ
ระยะหลังคลอด
ดูแลเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้ ต้องรักษาทั้งสามีและภรรยา
การประเมินและวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
3.1 wet mount smear
1.3.Bacterial vaginosis
เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย lactobacillus
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
คำแนะนำ การทานยา การมีเพศสัมพันธ์สวมถุงยาง การรักษาความสะอาดอวัยวะ
ระยะคลอด
คลอดทางช่องคลอดปกติ
ระยะหลังคลอด
ดูแลเหมือนมารดาหลังคลอดทั่วไป เลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาได้
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ chorioamnionitis, salpingitis , PID and septic abortion
ต่อทารก คลอดก่อนกำหนดLBW และหายใจลำบาก
การรักษา
Metronidazole and ampicillin
อาการและอาการแสดง
ตกขาวมีสีเทา/สีเหลืองเขียว ข้นเหนียว มีกลิ่น fishy smell
การประเมินและวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
3.1 wet smear
3.2 culture
ซิฟิลิส (Syphilis)
เกิดจากการติดเชื้อ Treponema pallidum (T. Pallidum)
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อสู่ร่างกายทางผิวหนังที่เป็นแผลถลอก หรือทางเยื่อบุต่าง ๆ ของร่างกาย ประมาณ 10-14 วัน ร่างกายจะสร้าง antibody ต่อเชื้อชนิด IgM และ IgG ขึ้นมา เกิดปฏิกิริยา lymphocyte และ plasma cell reaction มาล้อมรอบเนื้อเยื่อที่มีการอักเสบทำให้ผนังหลอดเลือดหนาตัวและบวม
อาการและอาการแสดง
primary stage
เกิดแผล กลม นิ่ม ขอบนูนแข็ง ไม่เจ็บ เรียว่าแผล chancre
2.secondary stage
ขณะที่แผลกำลังจะหาย หรือหลังจากแผลหายจะพบผื่นกระจาย ทั่วร่างกาย ฝ่ามือฝ่าเท้า เยื่อบุรวมทั้งอวัยวะสืบพันธุ์ ร่วมกับมีอาการ ไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต เจ็บคอ ผมร่วงเป็นหย่อมๆ ปวดศีรษะ น้ำหนักลด
3.latent syphilis
ไม่มีอาการใดๆ
4.tertiary syphilis
เชื้อจะเข้าไปทำลายระบบ หัวใจและหลอดเลือด ทำให้เกิด aortic aneurysm และ aortic insufficiency
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ ทำให้ผิวหนังและเนื้อเยื่ออักเสบ คลอดก่อนกำหนด และแท้งบุตร
ต่อทารก ทารกคลอดก่อนกำหนด ตายคลอด ทารกแรกเกิดติดเชื้อซิฟิลิส ทารกพิการแต่กำเนิด ตับม้ามโต ทารกตัวบวมน้ำ ตัวเหลือง เยื่อบุ อักเสบ ผิวหนังที่ฝ่ามือฝ่าเท้าอักเสบและลอกเป็นขุย ปัญญาอ่อน เป็นโรคหัวใจแต่กำเนิด
การประเมินและการวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
3.1 ระยะเป็นแผล
ตรวจหาเชื้อ T. Pallidum จากแผล chancre หรือผื่น มา ตรวจด้วยกล้อง dark-field microscope
3.2ไม่มีแผล
3.2.1 ตรวจหา antibody
RPR
VDRL
3.2.2 ตรวจหา antibody เพื่อยืนยัน
CMIA
EIA
ICS
TPHA
TPPA
FTA ABS
แนวทางการรักษา
1.penicillin
2.ระยะ primary, secondary และ early latent syphilis รักษาด้วย Benzathine Penicillin G Sodium
ระยะ late latent syphilis จะรักษาด้วย Benzathine Penicillin G Sodium
หนองใน (Gonorrhea)
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อ Neiseria gonorrheae เข้าสู่ร่างกาย จะเข้าไปเกาะติดกับเซลล์เยื่อบุและเซลล์ขับเมือกพยายามผ่านเนื้อเยื่อเกี่ยวพันเข้าไปเพิ่มจำนวนเซลล์ในชั้น subepithelial tissue จากนั้นเชื้อ Neiseria gonorrheae จะทำปฏิกิริยากับภูมิต้านทานของร่างกาย ทำให้เกิดสารเคมีที่เป็นพิษต่อเซลล์และเนื้อเยื่อ ส่งผลให้ เนื้อเยื่ออักเสบเป็นหนอง
อาการและอาการแสดง
มีการอักเสบของปากมดลูกและช่องคลอดทำให้ตกขาวเป็นหนองข้นปริมาณมาก กดเจ็บบริเวณ ต่อมบาร์โธลิน (bartholin’s gland)
หากมีการติดเชื้อของทางเดินปัสสาวะส่วนล่างจะพบอาการปัสสาวะแสบขัด ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะกระปิดกระปรอย เป็นหนองข้น และปัสสาวะเป็นเลือด
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ ไม่มีอาการ มีบุตรยาก
ต่อทารก
บริเวณเยื่อเมือกที่ตาของทารก ทำให้เกิดตาอักเสบ (gonococcal ophalmia neonatorum) เป็นสาเหตุให้ตาบอดได้
หากทารกแรกเกิดกลืนหรือสำลักน้ำคร่ำที่มีเชื้อหนองในเข้าไปจะ ทำให้ช่องปากอักเสบ หูอักเสบ กระเพาะอาหารอักเสบได้
การประเมินและวินิจฉัย
1.การซักประวัติ
2.การตรวจร่างกาย
3.Lab
gram stain smear
Culture
NAT
แนวทางการรักษา
1.VDRL
2.ให้ยา ceftriaxone, azithromycin, penicillin
3.ยาป้ายตาคือ 1% tetracycline ointment หรือ 0.5% erythromycin ointment หรือ 1% Silver nitrate (AgNO3)
4.่พบว่ามีการติดเชื้อหนองในควรได้รับยาปฏิชีวนะ ceftriaxone
5.การรักษาในสตรีตั้งครรภ์ควรคำนึงว่ามีการติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์อื่นร่วมด้วย
การติดเชื้อเริม (Herpes simplex)
พยาธิสรีรภาพ
เชื้อเข้าสู่ร่างกาย ผิวหนังเป็นตุ่มน้ำใส เล็ก ๆจำนวนมาก เมื่อตุ่มน้ำแตก หนังกำพร้าจะ หลุดพร้อมกับทำให้เกิดแผลตื้น ทำให้รู้สึกปวดแสบปวดร้อนที่แผล เชื้อก็จะเดินทางไปแฝงตัวท่ปีม ประสาท และกระตุ้นให้เกิดการอักเสบเมื่อภูมิคุ้มกันของร่างกายต่ำ
อาการและอาการแสดง
บริเวณที่สัมผัสโรค จากนั้นจะกลายเป็นตุ่มน้ำใสๆ แล้วแตกกลายเป็นแผลอยู่ 2 สัปดาห์ ก่อนจะตำสะเก็ด
มีอาการคล้ายหวัด ได้แก่ ไข้ต่ำ ๆ อ่อนเพลัย ปวดศีรษะ ปวดเมื่อยตามตัว ต่อมน้ำเหลืองที่ขาหนีบโต
ผู้ที่เคยติด เชื้อ HSV มักจะเกิดการติดเชื้อซ้ำเมื่อภูมิคุ้มกันของร่างกายต่ำ โดยจะมีอาการเหมือนกับการติดเชื้อปฐมภูมิ แต่อาการจะไม่ค่อยรุนแรง รอยโรคจะน้อยกว่า ระยะเวลาที่เป็นน้อยกว่า
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ เสี่ยงต่อการแท้ง การเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด การติดเชื้อซ้ำ
ต่อทารก IUGR, Preterm labor, ติดเชื้อ, Still birth, ติดเชื้อขณะคลอดได้หากคลอดทางช่องคลอด
การประเมินและวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
Hank's medium
exfoliative cytology
Tzanck's test
แนวทางการรักษา
1.ไม่มียาที่รักาาให้หายขาดได้
ให้ Acyclovir รับประทานวันละ 5 ครั้ง นาน 5-7 วัน
3.การรักษาในระยะคลอด
3.1 กรณีที่เคยติดเชื้อเริมมาก่อน ไม่พบรอยโรค คลอดทางช่องคลอด และเฝ้าระวังทารก
3.2 กรณีที่พบรอยโรคขณะคลอดไม่ว่าจะเป็นการติดเชื้อครั้งแรก หรือติดเชื้อซ้ำ คลอดโดย C/S และเฝ้าระวังทารก
หูดหงอนไก่ (Condyloma acuminate)
เกิดจากการติดเชื้อ human papilloma virus (HPV) ติดต่อจากการสัมผัสรอยโรคโดยเฉพาะทางเพศสัมพันธ์
อาการและอาการแสดง
มีรอยโรคเป็นติ่งเนื้อสีชมพูคล้ายหงอนไก่ มักเกิดบริเวณอับชื้น เช่น ปากช่องคลอด หรือใน ช่องคลอด
การติดเชื้อขณะตั้งครรภ์รอยโรคจะขยายใหญ่ มีผิวขรุยระคล้ายดอกกะหล่ำและยุ่ยมาก
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ การตกเลือดหลังคลอด และมารดาหลังคลอดมีโอกาสเกิดมะเร็งปากมดลูกได้
ต่อทารก laryngeal papillomatosis การอุดกั้นของระบบทางเดินหายใจส่วนบน เสียงเปลี่ยน (voice change) เสียงร้องไห้ แหบผิดปกติ (abnormal cry)
การประเมินและวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
CA vulva
Pap smear
PCR
DNA probe
แนวทางการรักษา
ทาบริเวณรอยโรคด้วย 85% trichlorracetic acid หรือ bichloroacetic acid
ใช้ยาท่าร่วมกับการจี้ laser หรือ cryosurgery หรือ electrocoagulation with curettage
แนะนำการรักษาความสะอาด หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
ระยะคลอดหากหูดหงอนไก่มีขนาดใหญ่ อาจพิจารณา C/S
การพยาบาลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ซิฟิลิส หนองใน เริม และหูดหงอนไก่
ระยะตั้งครรภ์
คัดกรองและประเมินภาวะสุขภาพของสตรีตั้งครรภ์
แนะนำให้นำสามีมารับการตรวจเพื่อวินิจฉัยโรค
อธิบายให้เข้าใจถึงการดำเนินของโรค อันตราย แผนการรักษา การป้องกันสุขภาพ
แนะนำการปฏิบัติตัวของสตรีตั้งครรภ์และสามีดังนี้
4.1 รับประทานยา ฉีดยา หรือทายา
4.2 หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ หรือใช้ถุงยางอนามัยทุกครั้ง
4.3 หลีกเลี่ยงการสัมผัสแผลและหนอง และล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง
4.4 กรณีมีแผลที่อวัยวะสืบพันธุ์แนะนำให้ทำความสะอาดอวัยวะ
4.5 แนะนำเกี่ยวกับความสำคัญของการมาตรวจตามนัด การสังเกตอาการผิดปกติ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ และผลการรักษา
ระยะคลอด
ดูแลผู้คลอดโดยยึดหลัก universal precaution
หลีกเลี่ยงการทำหัตถการทางช่องคลอด
ดูแลให้ผู้คลอดและทารกได้รับยาตามแผนการรักษา
หากไม่สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ เตรียมผู้คลอดให้พร้อมสำหรับการผ่าตัดนำทารกออก
ระยะหลังคลอด
ให้การพยาบาลมารดาหลังคลอดโดยยึดหลัก universal precaution
แนะนำมารดาหลังคลอดเกี่ยวกับการดูแลรักษาความสะอาดร่างกาย เครื่องใช้ส่วนตัว
ประเมินอาการติดเชื้อของทารกแรกเกิด
แนะนำการเลี้ยงบุตร โดยล้างมือให้สะอาดก่อนจับทารกทุกครั้ง
ดูแลให้มารดาหลังคลอดและทารกได้รับยาป้องกันการติดเชื้อตามแผนการรักษา
แนะนำและดูแลมารดาหลังคลอดปกติ
การติดเชื้อเอชไอวีในสตรีตั้งครรภ์ (Human Immunodeficiency Virus [HIV] during pregnancy)
ติดต่อผ่านทางเลือด ทางเพศสัมพันธ์ และจากมารดาสู่ทารก
การแพร่เชื้อจากมารดาสู่ทารก
การติดเชื้อ HIV ระหว่างตั้งครรภ์ เชื้อไวรัสสามารถผ่านทางรก โดยผ่านเซลล์ trophoblast และ macrophages เข้าสู่ระบบไหลเวียนเลือดของทารกในครรภ์
การติดเชื้อ HIV ระหว่างคลอด สัมผัสกับเลือดของมารดา น้ำคร่ำ และสารคัดหลั่งในช่องคลอดของมารดา
การติดเชื้อ HIV ระยะหลังคลอด ภายหลังคลอดทารกจะติดเชื้อได้จากการสัมผัสกับสารคัดหลั่งของมารดา
พยาธิสรีรภาพ
ติดเชื้อ HIV เข้าสู่ร่างกาย เชื้อ HIV จะใช้ส่วน GP120 ที่ผิวของเชื้อ HIV จับกับ CD4 receptor ของเซลล์เม็ดเลือดขาว จากนั้นเชื้อ HIV จะเข้าไปในเซลล์เม็ดเลือดขาวเหล่านั้น แล้วใช้ enzyme reverse transcriptase สร้าง viral DNA แทรกเข้าไปในนิวเคลียสของเซลล์เม็ดเลือดขาวแล้วเพิ่มจำนวนเม็ดเลือดขาวที่มีเชื้อไวรัส HIV ทำให้ร่างกายมีเซลล์เม็ดเลือดขาวที่ติดเชื้อ HIV จำนวนมาก แตกสลายง่าย ส่งผลให้เม็ดเลือดขาวในร่างกายลดลงอย่างรวดเร็ว
อาการและอาการแสดง
ระยะเริ่มแรกของการติดเชื้อ HIV
เริ่มสร้าง antibody หลังติดเชื้อ จากนั้นจะเริ่มมีไข้ เจ็บคอ ปวดเมื่อยตามตัว มีผื่นขึ้น ต่อมน้ำเหลืองโต บางรายอาจมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน ถ่ายเหลว หรือมีฝ้าขาวในช่องปาก
บางรายอาจไม่มีอาการและอาการแสดงใด
ระยะติดเชื้อโดยไม่มีอาการ
ร่างกายจะแข็งแรงเป็นปกติเหมือนคนทั่วไป แต่หากตรวจเลือดจะพบ เชื้อ HIV และ antibody ต่อเชื้อ HIV และสามารถแพร่เชื้อให้ผู้อื่นได้
ระยะติดเชื้อที่มีอาการ
พบอาการอย่างใดอย่างหนึ่งต่อไปนี้ ได้แก่ มีอุณหภูมิร่างกายสูงมากกว่า 37.8 C เป็นพักๆ หรือติดต่อกันทุกวัน ท้องเดินเรื้อรัง หรืออุจจาระร่วงเรื้อรัง น้ำหนักลดเกิน 10% ของน้ำหนักตัว ต่อมน้ำเหลืองโตมากกว่า 1 แห่ง เป็นงูสวัด และพบเชื้อราในปากหรือฝ้าขาวในช่องปาก
4.ระยะป่วยเป็นเอดส์
มีอาการดังต่อไปนี้ คือ ไข้ ผอม ต่อมน้ำเหลืองโตหลายแห่ง ซีด อาจพบลิ้นหรือช่อง ปากเป็นฝ้าขาวจากเชื้อรา แผลเริมเรื้อรัง ผิวหนังเป็นแผลพุพอง ระยะนี้ระบบภูมิคุ้มกันจะเสื่อมเต็มที่ ทำให้เชื้อ โรคฉวยโอกาสเข้ามาในร่างกาย
ผลกระทบ
ต่อสตรีตั้งครรภ์ มีปริมาณ CD4 ต่ำ เกิดโรคแทรกซ้อนจากการติดเชื้อฉวยโอกาสได้ ง่ายขึ้น
ต่อทารก ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ ทารกคลอดก่อนกำหนด ทารกแรกเกิดน้ำหนักตัวน้อย ทารกมี ขนาดเล็กกว่าอายุครรภ์ และทารกตายคลอด
การประเมินผลและวินิจฉัย
1.ซักประวัติ
2.ตรวจร่างกาย
3.Lab
HIV viral testing
ตรวจหา antibody
ELISA
agglutination assay
immunochromatography
dot immune assay
การตรวจนับเม็ดเลือดขาวชนิด CD4 lymphocyte และการตรวจวัดปริมาณ viral load
4.การตรวจพิเศษ
การป้องกันและการรักษา
การให้ยาต้านไวรัส
1.1 กรณีที่สตรีตั้งครรภ์ไม่เคยได้รับยาต้านไวรัสมาก่อน
1.2 กรณีที่เคยได้รับยาต้านไวรัสมาก่อน
1.3 กรณีที่ไม่มาฝากครรภ์ และไม่เคยได้รับยาต้านไวรัส
การให้ยาเพื่อป้องกันโรคติดเชื้อฉวยโอกาสระหว่างตั้งครรภ์
พิจารณาระยะเวลาที่จะให้คลอดและวิธีการคลอด
3.1 การพิจารณาให้คลอดทางช่องคลอด
3.1.1 การคลอดทางช่องคลอดจะพิจารณาสำหรับสตรีตั้งครรภ์ที่มีปริมาณ viral load
3.1.2 การพิจารณาเจาะถุงน้ำคร่ำเพื่อชักนำการคลอด พิจารณาปริมาณ viral load ต้อง ≤ 50 copies/ml
3.1.3 หลีกเลี่ยงการโกนขนบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก
หลังคลอดหลีกเลี่ยงการให้ยากลุ่ม ergotamine
หลีกเลี่ยงการใส่สายยางสวนอาหารในกระเพาะทารกโดยไม่จำเป็น
หลีกเลี่ยงการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดา
ทารกที่คลอดจากมารดาที่ติดเชื้อ HIV ทุกรายควรได้รับการดูแลรักษาโดยกุมารแพทย์ที่มีความเชี่ยวชาญ
การพยาบาล
ทุกระยะจะคล้ายกับการพยาบาลของโรคติดเชื้ออื่นๆ ที่กล่าวมาข้างต้น