Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ยาแก้ปวด ลดไข้ และยาต้านการอักเสบ ( Analgesic,antipyretic and anti…
บทที่ 6 ยาแก้ปวด ลดไข้ และยาต้านการอักเสบ ( Analgesic,antipyretic and anti-inflammatory drugs ) ยาแก้ปวดชนิดเสพติด ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร
-
NSAID ย่อมาจากคาว่า Nonsteroidal anti-inflammatory drug หมายถึง ยาต้านการอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ เป็นยากลุ่มที่ใช้เป็นยาแก้ปวดได้ดี โดยเฉพาะ อาการปวดจากการอักเสบ ยาที่จัดเป็นแม่แบบ คือ แอสไพริน (Aspirin) ซึ่งเป็นที่รู้จักกันดีและใช้กันมานาน
ยาต้านการอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด์ ออกฤทธิ์ต้านการอักเสบได้ โดยไปหยุดยั้งการสร้างสารที่เป็นสื่อกลางในการกระตุ้นให้เกิดการอักเสบ ตัวที่สาคัญคือ พรอสตาแกลนดิน (Prostaglandin) นอกจากนี้ ยังยับยั้งการเคลื่อนที่และการทางานของเซลล์เม็ดเลือดขาวบางชนิด ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบ เพื่อลดอาการต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น ดังนั้นยากลุ่มนี้จึงออกฤทธิ์ต้านการอักเสบได้
-
1 . Nonselective NSAIDs หมายถึงยาจะยับยั้ง enZymes ทั้งชนิด COX-1 and COX-2 enzymes ซึ่งการที่มันยับยั้ง enzyme ทั้งสองชนิดทาให้ยากลุ่มนี้ระคายต่อกระเพาะอาหาร ยากลุ่มนี้ได้แก่ aspirin, ibuprofen naproxen diclofenac
- Selective NSAIDs ยากลุ่มนี้จะเลือกยับยั้งเฉพาะชนิด COX-2 enzymes ดังนั้นจะระคายกระเพาะน้อยกว่ายาในกลุ่มแรก ดังนั้นผู้ป่วยซึ่งมีประวัติโรคกระเพาะควรจะได้รับยาในกลุ่มนี้ ยาในกลุ่มนี้ได้แก่ Celecoxib
อาการข้างเคียงของ NSAID เป็นอย่างไร
•อาการข้างเคียงจากการใช้ยา ที่พบบ่อยมากในการใช้ยาในกลุ่มนี้ คือ อาการข้างเคียงที่เกิดกับกระเพาะอาหารและลาไส้ อาการที่ปรากฏ จะมีตั้งแต่ ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน แสบท้อง อาหารไม่ย่อย จนถึงแผลในกระเพาะอาหาร และลาไส้ บางรายอาจพบอาการท้องผูก หรือท้องเสียได้
ยาลดไข้
1.Paracetamol
พาราเซตามอล (Paracetamol) หรือ อะเซตามีโนเฟน (acetaminophen) (นิยมเรียกในสหรัฐอเมริกา) เป็นยาที่สามารถจาหน่ายได้โดยไม่ต้องมีใบสั่งแพทย์ (OTC) มีฤทธิ์บรรเทาอาการยาแก้ปวดและลดไข้ ซึ่งเป็นยาพื้นฐานที่มักใช้เพื่อบรรเทาไข้ อาการปวดศีรษะ และอาการปวดเมื่อย และรักษาให้กายจากโรคหวัดและไข้หวัด พาราเซตามอลมักใช้รักษาอาการปวดพื้นฐานถึงการปวดอย่างซับซ้อน
Aspirin
การใช้ยาแอสไพรินเพื่อบรรเทาอาการปวด อักเสบ และลดไข้ ขนาดยาแอสไพรินในข้อบ่งใช้นี้ควรเป็นขนาดยาที่สูง คือ 325-650 มิลลิกรัม (บางการศึกษาพบว่า ควรเริ่มด้วยขนาดยา 600-650 มิลลิกรัมขึ้นไปในการบรรเทาอาการปวดปานกลางถึงรุนแรงและขนาด 500-1000 มิลลิกรัมเพื่อลดไข้) รับประทานทุก 4-6 ชั่วโมง ลักษณะของเม็ดยาจะมีขนาดใหญ่และเป็นเม็ดยาที่ถูกเคลือบเพื่อควบคุมให้มีการปลดปล่อยยาที่ลาไส้เล็ก (enteric-coated tablet) ผู้ป่วยควรรับประทานยาทั้งเม็ดหลังอาหารทันทีเพื่อลดการระคายเคืองกระเพาะอาหารโดยใช้ตามอาการที่เป็น และหยุดใช้ยาเมื่ออาการหมดไป
Ibuprofen
•ยาไอบูโพรเฟน เป็นยาที่ใช้ลดไข้ แก้ตัวร้อน อีกชนิดหนึ่งที่ได้ผลดีและเป็นที่นิยมมากขึ้นๆในปัจจุบัน ทั้งนี้เพราะนอกจากจะช่วยลดไข้ แก้ตัวร้อน และแก้ปวดได้ผลดีแล้ว ในรูปแบบของน้าเชื่อมที่ใช้ในเด็กยังสามารถออกฤทธิ์ได้นานถึง ๘ ชั่วโมง การที่มีระยะเวลาการออกฤทธิ์อยู่นานนี้ จึงมีประโยชน์มากในกรณีที่ต้องการควบคุมระดับไข้ของเด็กในระหว่างตอนกลางคืน ทาให้ไม่จาเป็นต้องปลุกเด็กลุกขึ้นมากินยาอีกครั้งในกลางดึก จึงสะดวกและทาให้เป็นที่นิยมมากขึ้นๆ เรื่อยๆ ในปัจจุบัน ถ้ามีการใช้ติดต่อกันในช่วงระยะเวลาสั้นๆ ถือว่าปลอดภัย และไม่แนะนาให้ใช้ติดต่อกันนานๆ เพราะยังไม่มีรายงานการใช้ยานี้ติดต่อกันนานๆว่าเกิดผลปลอดภัยในเด็ก และในกรณีที่ต้องการลดผลเสียเหล่านี้ของยาไอบูโพรเฟน ก็แนะนาให้ใช้หลังอาหารทันที และไม่ควรใช้ติดต่อกันเกิน ๗ วัน
ยากลุ่มสเตียรอยด์
•Hydrocortisone , Prednisolone ,Triamcinolone
•Fluocinolone, Betamethasone ,Clobetasol
•Desoximetasone, Prednicarbate, Mometasone
•Beclomethasone, Budesonide ,Dexamethasone
-
-