Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ระบบทางเดินหายใจและกลไกการทำงาน
ระบบทางเดินหายใจจะผ่านอวัยวะหลายอย่าง
จมูก ใช้เพื่อเป็นทางเข้าของอากาศ
โพรงจมูกและช่องคอ ทำหน้าที่ เพิ่มอุณหภูมิ ดักจับเชื้อโรค
ฝาปิดกล่องเสียง ทำหน้าที่กันไม่ให้อาหารที่เรากลืนตกลงสู่ ระบบทางเดินหายใจ
กล่องเสียง ใช้ในการสร้างเสียง และเป็นทางเดินหายใจ
หลอดคอ หลอดลม และ หลอดลมฝอย ทำหน้าที่ลำเลียงอากาศ ดักจับเชื้อโรค
ถุงลม ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างอากาศที่ลำเลียงมากับเส้นเลือดฝอยที่ล้อมรอบ
กลไกการหายใจของมนุษย
การหายใจเข้า (Inspiration)
การหายใจออก (Expiration)
การหายใจในระดับเซลล
กลไกควบคุมการหายใจ
การควบคุมแบบอัตโนมัติซึ่งเป็นการหายใจที่ไม่สามารถบังคับได้ โดยสมองส่วน pons และ
medulla เป็นตัวสร้างและส่งสัญญาณประสาทไปกระตุ้นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
การควบคุมภายใต้อ านาจจิตใจ ซึ่งเป็นการหายใจที่สามารถบังคับได้ โดยสมองส่วนหน้า เรียกว่าcerebral cortex hypothalamus สมองส่วนหลัง เรียกว่า cerebellum ท าให้เราสามารถควบคุม บังคับหรือปรับการหายใจให้เหมาะสมกับพฤติกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การทำงานของเม็ดเลือดแดง มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดหนึ่ง มีหน้าที่หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน มีอายุขัยประมาณ 120 วัน ร่างกายเรามีการทำลายและการสร้างเม็ดเลือดใหม่ตลอดเวลา
ความดันออกซิเจน ท าให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
การหมุนเวียน เพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อเซลล์เนื้อเยื่อขับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกออก จะมีการขนส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลับไปที่ปอด เพื่อทำการหายใจระบายออก
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ เป็นกลไกการตอบสนองของรางกายอยางหนึ่งตอสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจ และเป็นกลไก ป้องกันที่สำคัญของรางกายในการกำจัดเชื้อโรค เสมหะ หรือสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ
Hemoptysis อาการไอเป็นเลือด หมายถึง การมีเลือดออกจากทางเดินหายใจตั้งแต่กล่องเสียงลงไป ไม่รวมเลือดกำเดา (epistaxis) มีปริมาณเลือดเห็นได้ชัดเจน
Hiccup การสะอึก เป็นอาการที่เกิดจากการหดตัวของกล้ามเนื้อกระบังลมที่อยู่ตรงรอยต่อระหว่างช่องปอดและช่องท้อง
Dyspnea อาการหายใจลำบาก หมายถึง อาการซึ่งผู้ป่วยต้องใช้ความพยายามหรือใช้แรงในการหายใจ การหายใจลำบากไม่มีความสัมพันธ์กับความเร็วของการหายใจ อาจเกิดขึ้นเมื่อผู้ป่วยหายใจ
Chest pain อาการเจ็บหน้าอก
ปัจจัยที่มีผลตอการไดรับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง ภาวะดังกล่าวจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลง มีผลให้ออกซิเจนมีระดับต่ำกว่าปกติ ทำให้ร่างกายได้ออกซิเจนน้อยกว่าปกติ
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง ภาวะดังกล่าวท าให้อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลง การที่ร่างกายได้รับสารพิษจากอากาศ
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ ขณะออกกำลังกาย ร่างกายต้องการออกซิเจนมากกว่าปกติ
อาจทำให้ได้รับออกซิเจนไม่ทั่วถึงและเพียงพอ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล (anxiety) กระสับกระส่าย (restlessness)
ระดับการมีสมาธิลดลง (decreased ability toconcentrate)
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (decreased level of consciousness)
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น (increased fatigue)
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน (vertigo)
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป (behavior changes)
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น (increase pulse rate) ขั้นรุนแรง
ความดันโลหิตลดลง (blood pressure will decrease)
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งฟอง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด คือ มีภาวะPaO2 < 60 mmHg หรือ SaO2 < 90 % เมื่อ
หายใจเข้าในบรรยากาศปกติ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia ตามมาหลังได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง (severe trauma)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน (acute myocardial infarction: MI)
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทำผ่าตัด
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ (Low flow system)
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย
การบริหารการหายใจ
การดูดเสมหะ (suction)