Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การแปลกับวัฒนธรรม - Coggle Diagram
การแปลกับวัฒนธรรม
ความหมายประจำคำ (Signification) และ ความหมายในวาทกรรม (Sens)
ความหมายประจำคำ
เกิดขึ้นในระดับคำหรือความหมายระดับประโยค
ความหมายที่ปรากฏในพจนานุกรม
ความหมายในวาทกรรม
ความหมายที่แท้จริงซึ่งเกิดขึ้นในบริบท
กระบวนการแปลตามแนวคิดทฤษฎีความหมาย
หัวใจสำคัญ
การถ่ายทอดความหมายไปสู่อีกภาษาปลายทาง
แต่ยังคงจุดประสงค์และอารมณ์ให้เท่าเทียมกับต้นฉบับ
มีส่วนประกอบ 2 ส่วน
เข้าใจ (Comprendre)
เข้าใจภาษาต้นฉบับอย่างลึกซึ้ง
ถ่ายทอด (Dire)
ถ่ายทอดออกมาเป็นภาษาแม่ที่ถูกต้องครบถ้วนตามต้นฉบับ
ขั้นตอนการแปลตามทฤษฎีความหมาย
แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน
การผละออกจากต้นฉบับ (Déverbalisation)
การถ่ายทอดความหมายในอีกภาษาหนึ่ง ( Réexpression)
การทำความเข้าใจต้นฉบับ (Compréhention)
สำคัญที่สุด
แนวคิดทางการแปลบริบททางวัฒนธรรม
ความแตกต่างทางวัฒนธรรม ผู้แปลอาจพบได้ 3 ประเภท
กลุ่มที่มีความแตกต่างทางภาษาแต่มีวัฒนธรรมใกล้เคียงกัน
กลุ่มที่ทั้งภาษาและวัฒนธรรมคล้ายคลึงกัน
กลุ่มที่ภาษาที่คล้ายกันและมีวัฒนธรรมคล้ายคลึงกัน
ปัญหาที่นักแปลต้องประสบเป็นประจำ
การถ่ายทอดบริบททางวัฒนธรรม
หาคำมาเทียบเคียงได้ แต่ไม่ชัดเจน
หาคำมาเทียบเคียงไม่ได้
วัฒนธรรมที่ต่างกัน อาจทำให้บทแปลที่ได้แตกต่างจากต้นฉบับ
คุณสมบัติผู้แปลบริบททางวัฒนธรรม
เข้าใจความหมายแฝงในเชิงการแปลทางวัฒนธรรม
มีวิธีถ่ายทอดความหมายทางวัฒนธรรมนั้นให้ผู้อ่านซึ่งไม่มีพื้นฐานความรู้ร่วมกับผู้เขียนในต้นฉบับเข้าใจได้
มีความรู้ทั้ง 2 วัฒนธรรม
มีความรู้ทั้ง 2 ภาษาดีเยี่ยม
แนวทางการปฏิบัติเมื่อเกิดความแตกต่างทางวัฒนธรรมการแปล
แนวคิดการแปลแบบยึดความหมายไดเสนอวิธีการแปล
ดังนี้
การเพิ่มข้อมูล (ajout d'information)
การเพิ่มข้อมูลเข้าไปในบทแปล
การแทนที่ (conversion)
การแทนที่ข้อมูลด้วยข้อมูลอีกอย่างที่ไม่มีในต้นฉบับ
การปรับบทแปล (ajustement)
การเปลี่ยนแปลงข้อมูลในต้นฉบับเล็กน้อย
การเปลี่ยนให้เป็นวัฒนธรรมปลายทาง (naturalisation)
การแทนที่ข้อมูลด้วยข้อมูลอีกอย่างหนึ่งที่มีในวัฒนธรรมปลายทาง
การอธิบายความในบทแปล (note explicative)
ทำได้ 2 แบบ
การทำเชิงอรรถ
การแทรกเข้าไปในตัวเรื่อง
การละข้อมูลในต้นฉบับ (omission)
การตัดหรือละข้อมูลที่ปรากฎในต้นฉบับออกไป
ไม่ว่าผู้แปลจะตัดสินใจเลือกถ่ายทอดข้อมูลทางวัฒนธรรมตามแนวคิดทฤษฎีการแปลแบบยึดความหมายด้วยวิธีการใด ผู้แปลต้องพึงไว้เสมอว่าจะต้องสร้างความเท่าเทียมกันทางความหมายระหว่างต้นฉบับกับบทแปล