Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การแลกเปลี่ยนก๊าซโดยรวมเกิดจาก ความดันออกซิเจน และ คาร์บอนไดออกไซด์ที่แตกต่างกัน
ทำให้เกิดการถ่ายเทก๊าซจากที่ความเข้มข้นสูงสู่ที่ต่ำกว่าโดยมีระบบหมุนเวียนเลือดที่มีเม็ดเลือดแดงเป็นตัวนำพา
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ ขณะออกกำลังกาย
ความเครียดทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ
อาหารที่มีไขมันมาก จะมีปริมาณออกซิเจนน้อย
ผู้สูงอายุ ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น
การสูบบุหรี
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
1) ระบบทางเดินหายใจ
2) ระบบหัวใจและหลอดเลือด
3) ระบบประสาทส่วนกลาง
4) ระบบผิวหนัง
5) ระบบทางเดินอาหาร
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas: ABG)
2) ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation)
3) การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb)
ระบบทางเดินหายใจ เช่น การอุดกั้น
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อย เช่น ภาวะโลหิตจาง
โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อย เช่น ภาวะโลหิตจาง
ระบบเผาผลาญเมตาบอลิซึมผิดปกติต่าง ๆ
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย
ผู้ปุวยที่ได้รับการผ่าตัดโดยเฉพาะการผ่าตัดส่วนอกและช่องท้อง
สาเหตุและการพยาบาลผู้ปุวยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ (Cough)
สาเหตุของการไอ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ฝุุน ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ำที่สำลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้การไอมากขึ้น
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ เช่น ไอเนื่องจากมีฝุุนละอองมาก เป็นต้น
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนอง มักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
ประเมินประสิทธิภาพการไอ ลักษณะไอแห้ง ๆ หรือไอแบบมีเสมหะ โดยการฟังเสียงไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลาของการไอ
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจ านวน ลักษณะ สีและกลิ่นของเสมหะด้วย
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
กระตุ้นให้ดื่มน้ าอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก เพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ เพื่อให้เสมหะที่ค้างในปอดเคลื่อนออกมาได้ง่าย
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough)
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
2 Hemoptysis อาการไอเป็นเลือด
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดสดออกมา พบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดปนออกมา
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม จากมีเลือดเก่า ๆ
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
อุบัติเหต
2.การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ให้ผู้ปุวยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด และพยาบาลจะต้องเฝูาระวังการแพ้เลือดที่อาจเกิดขึ้นได้
ผู้ปุวยอาจตกใจมาก ท าให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น (hyperventilation) พยาบาลต้องคอย
ปลอบโยน ให้กำลังใจ
3 Hiccup การสะอึก
.4 Dyspnea อาการหายใจลำบาก
.5 Chest pain อาการเจ็บหน้าอก
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา (Oxygen therapy)
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วยเกี่ยวกับ
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way)
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
อุปกรณ์และวิธีการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
1) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ (Low flow system)
2) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
ความปลอดภัยขณะผู้ปุวยได้รับออกซิเจน
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias)
อาจเกิดการหยุดหายใจ ในผู้ปุวยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)