Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสาคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การแลกเปลี่ยนแก๊ส
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง
ความดันออกซิเจน
เลือดเป็นตัวกลางการส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์ ส่วน เม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจน
การหมุนเวียน
กำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การแลกเปลี่ยนก๊าซโดยรวมเกิดจาก ความดันออกซิเจน และ คาร์บอนไดออกไซด์ที่แตกต่างกันทำให้เกิดการถ่ายเทก๊าซจากที่ความเข้มข้นสูงสู่ที่ต่ำกว่า โดยมีระบบหมุนเวียนเลือดที่มีเม็ดเลือดแดงเป็นตัวนำพา
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
การเล่นกีฬาหรือออกกาลังกายหนัก ๆ
ความเครียด
อาหารที่มีไขมันมาก
ผู้สูงอายุ
การสูบบุหรี่
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ใช้เทคนิคการสังเกต และการประเมินสัญญาณชีพ ประกอบด้วย Temperature,Pulse,Respiration,Blood pressure
1) ระบบทางเดินหายใจ ระยะแรกของเซลล์พร่องออกซิเจนอย่างอ่อน สังเกตพบ ผู้ป่วยมีอาการหายใจไม่สะดวก
2) ระบบหัวใจและหลอดเลือด ประเมินพบ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ความดันโลหิตเพิ่มต่อมาหัวใจเต้นผิดจังหวะ บีบตัวช้าลง เจ็บหน้าอก และหัวใจหยุดเต้น
3) ระบบประสาทส่วนกลาง สังเกตและประเมินพบ ความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงกระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะเพ้อ หมดสติ หรือชัก
4) ระบบผิวหนัง ระยะแรก พบว่า ผิวหนังผู้ปุวยเย็น ซีด ต่อมาพบอาการเขียวคล้า โดยเห็นชัดบริเวณริมฝีปาก เล็บมือเล็บเท้า และเสียชีวิตในที่สุด
5) ระบบทางเดินอาหาร ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนในระยะแรก
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Arterial blood gas: ABG
การตรวจเพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของปอดประเมินความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซ และการหายใจ
ค่าเหล่านี้บอกถึงความสามารถของ Hemoglobin ในการจับออกซิเจนเข้าสู่เซลล์ และนำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเซลล์
ประกอบด้วย pH, PaCO2, PaO2, HCO3, และ SaO2
Arterial oxygen saturation
ใช้ pulseoximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจนต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
Hemoglobin: Hb
ระบบทางเดินหายใจ เช่น การอุดกั้น การติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคหัวใจชนิดต่าง ๆ หรือภาวะช็อกจากสาเหตุต่าง ๆ
โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อย เช่น ภาวะโลหิตจาง
ระบบเผาผลาญเมตาบอลิซึมผิดปกติต่าง ๆ
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ การบาดเจ็บของสมองและได้รับยาที่กดการหายใจ
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดโดยเฉพาะการผ่าตัดส่วนอกและช่องท้อง
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ (Cough)
ลักษณะ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนอง มักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
การพยาบาล
ประเมินประสิทธิภาพการไอ ลักษณะไอแห้ง ๆ หรือไอแบบมีเสมหะ โดยการฟังเสียงไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลาของการไอ
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจานวน ลักษณะ สี และกลิ่นของเสมหะด้วย
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
กระตุ้นให้ดื่มน้าอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก เพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ เพื่อให้เสมหะที่ค้างในปอดเคลื่อนออกมาได้ง่าย
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
สาเหตุ
ฝุน ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ำที่สำลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้การไอมากขึ้น
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
Hemoptysis
ชนิด
ไอจนมีเลือดสดออกมา พบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดปนออกมา คือ มีเสมหะและเลือดปนเป็นเนื้อเดียวกัน
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย มีเลือดเป็นสายปนกับเสมหะแต่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม
สาเหตุ
อุบัติเหตุ
การอักเสบ ทำให้เกิดอาการไออย่างรุนแรง หรือมีแผลในคอ กล่องเสียง หลอดลมใหญ่ และในเนื้อปอด
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาล
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและความรุนแรง
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด และพยาบาลจะต้องเฝ้าระวังการแพ้เลือด
ผู้ป่วยอาจตกใจมาก ทาให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น พยาบาลต้องคอยปลอบโยน ให้กำลังใจ
Hiccup
สาเหตุ
อาการปกติทั่วไป ไม่ได้เกิดจากโรค โดยมีสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย เช่น กินอิ่มมากเกินไป
มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของกระเพาะอาหารทันที
กินอาหารร้อนจัดเมื่อท้องว่าง กินอาหารรสจัด
ผลข้างเคียงจากยาบางชนิด
การพยาบาล
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน เช่น แอมโมเนีย เป็นต้น
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด เช่น น้ามะนาว เป็นต้น หรือดื่มน้ำเปล่า
แนะนำให้หายใจเข้าออกในถุงปิด เพื่อเพิ่มก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ เช่น ชวนคุยในเรื่องที่สนุกตื่นเต้น เป็นต้น
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
Dyspnea
สาเหตุ
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น ทางเดินหายใจอุดกั้น หรือปอดถูกทำลาย
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ เช่น การทำงานของหัวใจไม่ดี
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท ทำให้การควบคุมการหายใจไม่ดี
การพยาบาล
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพตามความเหมาะสม
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ สาหรับช่วยเหลือผู้ปุวยฉุกเฉิน
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer) เพื่อให้หายใจสะดวก
ฝึกให้ผู้ปุวยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Chest pain
สาเหตุ
1) กล้ามเนื้ออักเสบ
2) เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
3) เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บตลอดเวลา อาจมีลักษณะในข้อ 2 ร่วมด้วย ถ้าการอักเสบลุกลามถึงเยื่อหุ้มปอด
4) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหัวใจ เช่น ภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารี
5) หลอดลมอักเสบ มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณหลังกระดูก
อาจเจ็บตลอดเวลา และเจ็บมากเมื่อเวลาไอ
6) เส้นประสาท เช่น โรครากประสาทสันหลัง
การพยาบาล
สังเกตอาการ
ประเมินหาสาเหตุของอาการว่า อาการเจ็บหน้าอกเกิดจากหัวใจหรือ ปอด
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา (Oxygen therapy)
อาการ
วิตกกังวล กระสับกระส่าย
ระดับการมีสมาธิลดลง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น ขั้นรุนแรง และพบ bradycardia
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก ระยะต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น
ความดันโลหิตลดลง
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
มีภาวะซีด
มีอาการเขียวคล้า
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุูม
อาการหายใจลาบาก
วัตถุประสงค์
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งฟอง
เป็นการช่วยการทางานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อชี้บ่ง
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia ตามมาหลังได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง (severe trauma)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทาผ่าตัด
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อน
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ป่วยที่หายใจเอง
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ ออกซิเจนเป็นพิษ หรือกดการทำงานของ cilia
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจาก paraquat เช่น ยาฆ่าหญ้า เป็นต้น
ขณะทำผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ ควรจำกัดความเข้มข้นของออกซิเจนที่ใช้
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจนโดยเฉพาะการให้ความชื้นแบบ nebulizer
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน
การพยาบาลผู้ป่วย
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
บทบาทพยาบาล
1.การจัดท่าผู้ป่วย
การบริหารการหายใจ
1) การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม (diaphragmatic breathing)
2) การหายใจโดยการห่อปาก (pursed - lip breathing)
3) การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing)
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
การดูดเสมหะ(suction)
วิธีการดูดเสมหะ
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal) หรือปาก (oropharyngeal suction)
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาติเข้าใจ เพื่อลดความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือ
ล้างมือให้สะอาด ใส่mask เพื่อลดการแพร่ของเชื้อโรค
สวมถุงมือ เพื่อหลีกเลี่ยงการเปื้อนเสมหะ
จัดท่าผู้ปุวยให้นอนตะแคงศีรษะต่าเล็กน้อย เพื่อช่วยให้เสมหะออกได้สะดวก
หยิบสายดูดเสมหะต่อกับเครื่องดูดเสมหะแล้ว ปรับแรงดันเครื่องดูดเสมหะให้เหมาะสมตามประเภทของผู้ป่วย
ให้ผู้ป่วยช่วยอ้าปาก กรณีไม่รู้ตัวใช้ไม้กดลิ้นช่วยในการอ้าปากผู้ป่วย จากนั้นใส่สายดูดเสมหะ
ขณะทำการดูดเสมหะ พบว่า ดูดไม่ขึ้นหรือดูดไม่ออกให้หยุดทำการดูดเสมหะไว้ก่อน
การดูดเสมหะแต่ละครั้งไม่ควรนานเกิน 10 วินาที
ล้างสายดูดโดยการดูดผ่านน้ำเกลือใช้ภายนอก เป็นการทำความสะอาด
เช็ดทำความสะอาดบริเวณที่มีน้ำเปียก
ถอดสายดูดเสมหะ เก็บของให้เข้าที่เรียบร้อย ถอดถุงมือออกทิ้ง
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ (Endotracheal) หรือ ทาง ท่อหลอดคอ(tracheostomy suction)
อาการแทรกซ้อน
แรงกด หรือการระคายเคืองบริเวณรูจมูกและริมฝีปากอาจทำให้เกิดแผล
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
เกิดการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ ในขณะดูดเสมหะ
อาจเกิดการสาลักจากการกระตุ้น gag reflex หรือจัดท่าผู้ป่วยไม่ถูกต้อง
ริมฝีปากแห้งเกิดเป็นแผลได้ง่าย ให้ทำครีมทุกครั้งหลังทาความสะอาดปาก
อาจเกิดความผิดปกติในผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง
การพยาบาลผู้ป่วย
แสดงท่าทางสุภาพอ่อนโยน บ่งบอกถึงความเป็นมิตร และช่วยลดภาวะตื่นกลัว
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าในถึงวัตถุประสงค์และความจำเป็นของการดูดเสมหะ
บอกให้ผู้ปุวยทราบก่อนว่า “จะทำการดูดเสมหะอย่างเบามือที่สุด ถ้าเจ็บหรือทนไม่ไหวให้ยกมือบอก"
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าจะมีการหายใจลำบากในขณะดูด แต่จะดีขึ้นภายหลังเอา สายออก
ทำการดูดเสมหะด้วยความเบามือ และนุ่มนวล
หลังดูดเสมหะเสร็จเช็ดทำความสะอาด เก็บของใช้ และจัดสิ่งแวดล้อมให้เรียบร้อย
พูดให้กำลังใจก่อนเดินออกจากเตียงผู้ปุวย
การเก็บเสมหะส่งตรวจ
การเก็บเสมหะส่งตรวจ (Sputum examination)
เพื่อให้ได้เสมหะแล้วบ้วนลงภาชนะสะอาดชนิดมีฝาปิด
ควรตรวจดูให้แน่ใจว่าเป็นเสมหะไม่ใช่น้ำลาย
ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ แล้วไอออกมา
การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ (Sputum culture)
กรณีผู้ป่วยไอขับเสมหะได้เอง ให้ผู้ปุวยหายใจเข้าลึกๆ แล้วไอออกมา
กรณีผู้ป่วยที่ไม่สามารถขับเสมหะออกได้เอง ใช้การดูดเสมหะลงภาชนะสะอาดปราศจากเชื้อชนิดมีฝาปิด
อุปกรณ์และวิธีการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
ระบบการให้ออกซิเจน
Low flow system
1) การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว
2) การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก
Simple mask
Reservoir bag (partial rebreathing mask)
Non rebreathing mask
High flow system
1) การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
2) การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม
3) การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
4) การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
5) การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ
ระบบให้ความชื้น
1) ชนิดละอองโต (Bubble)
2) ชนิดละอองฝอย (Jet)
แหล่งให้ออกซิเจน
1) ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
2) ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ข้อควรปฏิบัติและต้องคำนึงถึง คือ
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias)
อาจเกิดการหยุดหายใจ
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจนชนิดต่าง ๆ
ล้างมือให้สะอาด สวมmask
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจนที่มาจากชนิดผนัง (wall type) จากถังใช้ highpressure
ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่น้ำกลั่นปลอดเชื้อ
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter
หมุนปุมเปิด flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไว้ 1 – 2 นาที
กรณีให้ nasal cannula ให้ปฏิบัติ ดังนี้
7.1 ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้าง และทุก 8 ชั่วโมงเพื่อให้ช่องจมูกโล่ง
7.2 สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง 2 ข้างโดยให้ส่วนโค้งแนบไปกับโพรงจมูก คล้องสายกับใบหู
กรณีให้ mask ให้ปฏิบัติ ดังนี้
8.1 simple mask ครอบหน้ากากบริเวณสันจมูกและปากให้แนบสนิท
8.2 ชนิดมีถุง เปิดออกซิเจนไหลผ่านถุง 10 -20 ลิตร/ นาที
กรณีให้ oxygen hood (oxygen box) ให้ปฏิบัติ
9.1 ต่อท่อออกซิเจนเข้ากับกล่อง
9.2 วางครอบเฉพาะศีรษะและไหล่ ระวังไม่ให้สายอยู่ใกล้หน้าเด็ก
กรณีให้ T- piece ให้ปฏิบัติ ดังนี้
10.1 ควรดูดเสมหะออกก่อนเพื่อให้ออกซิเจนไหลผ่านหลอดลมคอได้สะดวก
10.2 ต่อสาย T – piece ครอบท่อหลอดลมคอ
ลงบันทึกทางการพยาบาล
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)