Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน - Coggle Diagram
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น (increase pulse rate) ขั้นรุนแรง และพบ bradycardia
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก (increase rate and depth respiration) ระยะต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น (shallow and slow respiration)
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป (behavior changes)
ความดันโลหิตลดลง (blood pressure will decrease)
อาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน (vertigo)
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ (cardiac dysthymias)
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น (increased fatigue)
ภาวะซีด (pallor)
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (decreased level of consciousness)
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุ้ม (clubbing)
ระดับการมีสมาธิลดลง (decreased ability to concentrate)
อาการเขียวคล้ำ (cyanosis)
วิตกกังวล(anxiety)กระสับกระส่าย(restlessness)
อาการหายใจลำบาก (dyspnea)
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง (severe trauma)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน (acute myocardial infarction: MI)
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทำผ่าตัด
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way)
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วยเกี่ยวกับ
ระดับความรู้สึกตัว
วัดปริมาตรหายใจเข้า-ออกต่อครั้ง (Tridal Volume) ในกรณีที่ผู้ปุวยอาการหนักและมี เครื่องมือวัดโดยเฉพาะ
ความผิดปกติของสีผิว ดูลักษณะบริเวณริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้า ผิวหนัง
ติดตามผลค่าก๊าซให้ออกซิเจน (Blood gas)
ตรวจวัดสัญญาณชีพ ดูลักษณะ และอัตราเร็วของการหายใจ
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากparaquat
ขณะทำผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ (lung atelectasis) ออกซิเจนเป็นพิษ (oxygen toxicity) หรือกดการทำงานของ cilia
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจนโดยเฉพาะการให้ความชื้นแบบ nebulizer
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ป่วยที่หายใจเอง
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งฟอง
เป็นการช่วยการทางานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและ
หลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
การรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ