Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด - Coggle Diagram
บทที่ 7
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด
ยาต้านความดันโลหิตสูง (Antihypertensive drugs)
ยารักษาภาวะเจ็บหน้าอก Angina pectoris
ยาต้านหัวใจเต้นผิดจังหวะ (Antiarrhytmic drugs)
ยารักษาอาการหัวใจล้มเหลว (Drug used in Chronic heart failure)
ยาลดระดับไขมันในเลือด (Agent used in hyperlipidemia )
Diuretics
Thiazide Diuretics : Hydrochlorothiazide (HCTZ)
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่มการขับ potassium ions ทำให้ร่างการสูญเสีย potassium ions
การนำไปใช้ในทางคลินิก
ใช้รักษาผู้ป่วยโรคหัวใจล้มเหลวที่มีอาการบวมจากไตทำงานผิดปกติ
อาการข้างเคียง
ระดับ K+ ในเลือดต่ำทำให้หัวใจเต้นผิดจังหวะและอาจเสียชีวิตได้
Loop diuretic: Furosemide
กลไกการออกฤทธิ์
เพิ่มอัตราการไหลเวียนเลือดที่ไต
การนำไปใช้ในทางคลินิก
ใช้ลดอาการบวมจากสาเหตุต่างๆ
Potassium-sparing diuretic: Spironolactone, Amiloride
กลไกการออกฤทธิ์
มีการเก็บกลับ potassium ions เข้าสู่ร่างกาย ช่วยลดการสูญเสีย potassium ions-
การนำไปใช้ในทางคลินิก
ยากลุ่มนี้มีฤทธิ์ขับปัสสาวะอย่างอ่อน
มักใช้ร่วมกับยาขับปัสสาวะตัวอื่น เพื่อช่วยลดการสูญเสีย potassium
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยาขับปัสสาวะ
Thiazide และ Loop diuretic
อาจให้ยาร่วมกับการทาน potassiumเสริม หรือ ยากลุ่ม
Potassium sparing diuretics
Potassium sparing diuretics ควรแนะนำให้จำกัดการรับประทานอาหารที่มี potassiumสูง เช่น กล้วย ส้ม ถั่ว
2.ACE Inhibitors
ยาลดความดันโลหิตกลุ่ม ACE Inhibitors หรือ ตัวยับยั้ง Angiotensin-Converting Enzyme เป็นกลุ่มยาที่ใช้รักษาเบื้องต้นในการรักษาโรคความดันโลหิตสูง
กลไกการออกฤทธิ์
ผลของ ACE inhibitors
ในทาง ระบาดวิทยา (Epidemiology) และการศึกษาทางคลินิกพบว่า ACE inhibitors ช่วยลดโรคไตวายจากเบาหวานหรือเบาจืดด้วย
Angiotensin receptor antagonists
ข้อบ่งชี้ในการใช้
โรคอ้วนลงพุง Metabolic syndrome
รับประทาน ACEI-แล้วเกิดอาการไอ
Beta blocker
กลไกการออกฤทธิ์
ออกฤทธิ์โดยปิดกั้นการออกฤทธิ์ของสาร catecholamines ที่มีต่อ beta receptors ซึ่งมีอยู่ในเนื้อเยื่อหลายชนิด เช่น หัวใจ,หลอดเลือด,หลอดลม,มดลูก
ข้อบ่งใช้ยากลุ่ม Beta Blocker
รักษาโรคหัวใจขาดเลือดจากเส้นเลือดแดงโคโรนารี่ตีบ โดยลดการบีบตัวของหัวใจทำให้ใช้พลังงานน้อยลง
Calcium Channel Blocker
Calcium Channel Blocker : CCB เป็นยาต้านแคลเซียมไม่ให้เข้าสู่หัวใจ แคลเซียมดังกล่าวเป็นส่วนสำคัญในการหดตัวของหลอดเลือดแดง ซึ่งทำให้หัวใจต้องทำงานหนักขึ้น
5.ยาอื่นๆที่ใช้ลดความดันโลหิต
Direct-acting vasodilators เป็นยาออกฤทธิ์ที่เส้นเลือดแดงโดยตรง
โดยทำให้ผนังเส้นเลือดแดงคลายตัวอย่างรวดเร็ว เป็นยาที่ใช้ในห้องฉุกเฉิน
ยารักษาอาการเจ็บหน้าอก
อาการเจ็บหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด ที่พบได้บ่อย คือ ส่วนใหญ่จะมีอาการแน่นหน้าอก/หรือเจ็บแน่น/หรือปวดแน่นตรงกลางอกเหนือลิ้นปี่
ยากลุ่ม Nitrates
Nitrate ออกฤทธิ์ขยายทั้งหลอดเลือดแดงและหลอดเลือดดำ โดยมีการเปลี่ยนแปลงเป็น active metabolite คือ Nitric Oxide (NO) โดยออกฤทธิ์เด่นที่หลอดเลือดดำ
Nitroglycerine หรือ Glyceryl Tri-Nitrate ซึ่งมีในรูปของ Sublingual, Intravenous และ
Transdermal เพื่อให้ออกฤทธิ์ได้เร็ว
ยาต้านหัวใจผิดจังหวะ
คำจำกัดความ
ในภาวะปกติ ที่บริเวณหัวใจห้องบน จะทำหน้าที่สร้างสัญญาณไฟฟ้า เพื่อมากระตุ้นการเต้นของหัวใจเอง
การรักษา
ยาที่ใช้บ่อย Aspirin, Diltiazem, Verapamil, amiodarone, propranolol, digoxin, warfarin
ภาวะหัวใจเต้นผิดจังหวะ สาเหตุแบ่งเป็นกลุ่มได้หลายแบบ
หัวใจห้องบนผิดปกติ (Atrium) เช่น Atrial flutter, Atrial fibrillation, Premature atrial contraction (PAC) เป็นต้น
2.ทางเชื่อมระหว่างหัวใจห้องบนและห้องล่างผิดปกติ (Atrio-ventricular node) เช่น Wolff-Parkinson-White syndrome
3.Junctional arrhythmia เช่น supraventricular tachycardia
4.หัวใจห้องล่างผิดปกติ (Ventricle) เช่น Premature ventricular contraction (PVC), Ventricular fibrillation
ยาลดระดับไขมันในเลือด
ภาวะไขมันสูงในเลือด คือ ภาวะที่มีระดับไขมันชนิดต่างๆในเลือดสูงมากจนเกินไป
ไขมันในเลือด ได้แก่ Chloresterol HDL-Chloresterol LDL-Chloresterol Triglyceride
ยาที่ใช้ในภาวะไขมันในเลือดสูง
ยากลุ่ม statins เช่น simvastatin , atrorvastatin, rosuvastatinยากลุ่มนี้สามารถลดโคเลสเตอรอลได้ดี ลดไตรกลีเซอไรด์ได้เล็กน้อย
ยากลุ่ม fibric acids derivatives เช่น gemfibrozil , fenofibrate , bezafibrate ยากลุ่มนี้สามารถลดไตรกลีเซอไรด์ได้ดี ลดโคเลสเตอรอลได้เล็กน้อย
ยากลุ่ม nicotinic acid และ analogue เช่น niacin , acipimox ยากลุ่มนี้สามารถลดไตรกลีเซอไรด์ได้ดี ลดโคเลสเตอรอลได้เล็กน้อย
ยากลุ่ม bile acid sequestrants เช่น cholestyramine ยากลุ่มนี้ลดเพียงโคเลสเตอรอลอย่างเดียว
ยากลุ่ม Statin
ข้อห้ามใช้ในผู้ป่วยที่มีตับอักเสบเฉียบพลันและตับอักเสบเรื้อรัง
ห้ามใช้ร่วมกับยา cyclosporin ยารักษาเชื้อรา
ยากลุ่ม Fibrates
ยับยั้งกระบวนการสลายไขมันที่สะสมในบริเวณต่างๆ ของร่างกาย
ลดการสร้างและเพิ่มการกำจัดไตรกลีเซอไรด์
ผลข้างเคียงของยา
ยากลุ่ม nicotinic acid และ analogue อาจทำให้มีอาการคันและร้อนวูบวาบ