Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การปรับตัวของร่างกายในภาวะที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท - Coggle Diagram
การปรับตัวของร่างกายในภาวะที่มีพยาธิสภาพระบบประสาท
ความผิดปกติของวิถีการรับความรู้สึกที่ผิวหนัง
ทำลายเส้นประสาทส่วนปลาย
อาการ
ชา,แสบร้อน ในโรคงูสวัด
ความรู้สึกสัมผัสผิดปกติ เช่น ชา ร้อนผ่าว
ทำลายรากประสาทรับความรู้สึก
หมอนรองกระดูกเสื่อม
ขึ้นกับDermatome ที่เลี้ยงระดับนั้นของลำตัว
ทำลายไขสันหลัง
ขึ้นกับตำแหน่งที่สียหาย
มีผลต่อ motor,sensory
รอยโรคต่ำกว่าlesionจึงเสียระดับต่ำกว่า
อาการ
ไม่รับรู้จากข้อต่อ ม่รู้ตำแหน่งเท้าขณะหลับ เดินเซ
ทำลายก้านสมอง
ทำลายก้านสมองซีกหนึ่ง
เสียsensoryของใบหน้าด้านเดียวกัน
เสียmotor ด้านตรงข้าม
ทำลายระดับทาลามัส
เสียsensoryของร่างกายด้านตรงข้าม
เสียท่าทาง
ทำลายระดับ cerebral cortex
เกิดagnosia(ไม่รับรู้ในสิ่งที่เคยรู้มาก่อน)
ไม่เข้าใจ ไม่สามารถแปลผลได้
Ex : จับสิ่งของได้แต่บอกขนาด รูปร่างไม่ได้
ความเจ็บปวด
วิถีประสาทความเจ็บปวด
Peripheral pain pathway
A delta fiber
มี myelin หุ้ม
นำความรู้สึกเจ็บปวดแบบรวดเร็ว
C fiber
ไม่มี myelin หุ้ม
นำความรู้สึกเจ็บปวดแบบเรื้อรัง
Central pain pathway
nociceptor
ใยประสาท
ไขสันหลัง
สมอง
Postirior column
Spinothalamic
Leteral A delta
Medial
Antirior
ระบบควบคุมความเจ็บปวดภายใน
รับสัญญาณความเจ็บปวดจากFrontal lobe และ Hypothalamus
ส่งสัญญาณมาที่กลุ่มเซลล์ของGray mater
ผ่านดด้านข้างของไขสันหลัง
มีการหลั่งCatecholamine(ควมคุมความเจ็บปวด)
รับความรู้สึเจ็บปวดจากก้านสมอง
รับสัญญาณมาจาก raphemnucleus
ส่งสัญญาณมาด้านหลังและดานข้างของไขสันหลัง
หลั่งสารSirotonin (ยับยั้งความเจ็บปวด)
กลไกลการเกิดความเจ็บปวด
ทฤษฎีจำเพาะ
มีเซลล์ประสาทที่อยู่สวนปลายเป็นตัวรับความรู้สึกจำเพาะ
ทฤษฎีแบบแผน
ตัวรับความรู้สึกอยู่ที่ส่วนปลาย จะถูกกระตุ้นก็ขึ้นอยู่กับความถี่ ระยะเวลา บริเวณที่ถูกกระตุ้น
ทฤษฎีควบคุมประตูปิด-เปิด
SG ควบคุมไม่ให้มีการผ่านของกระแสประสาทเข้า T cell จึงไม่เกิดการส่งต่อไปยังสมอง
ประตูปิด
ถ้าใยประสาทขนาดเล็กมรมากกว่า จะยับยั้ง SG cell ทำให้กระตุ้น T cell ส่งไปยังสมอง
ประตูเปิด
ผลของความเจ็บปวด
การะตุ้นการทำงานของระบบประสาทอัตโนวัตทั้ง2
กระตุ้นการหลั่งADH
หากกระตุ้นบ่อย จะยับยั้งการทำงานของระบบประสาทอัตโนวัตแทน
กล้ามเนื้อหดเกร็ง เกิดกรดแลคติค