Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีผลต่อร่างกาย
ความดันออกซิเจน ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
การหมุนเวียนเพื่อกาจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การทำงานของเม็ดเลือดแดง มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
ความเครียด
อาหารที่มีไขมันมาก
การเล่นกีฬาหรือออกกาลังกายหนัก ๆ
ผู้สูงอายุ
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
การสูบบุหรี่
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบประสาทส่วนกลาง
ระบบผิวหนัง
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบทางเดินหายใจ
การประเมินการตรวจร่างกายทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb)
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation)
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง(Arterial blood gas: ABG)
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
Hiccup
สาเหตุของอาการสะอึก : เช่น กินอิ่มมากเกินไป ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทาให้เกิดแก๊ส (Carbonate)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
แนะนำให้หายใจเข้าออกในถุงปิด เพื่อเพิ่มก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด เช่น น้ำมะนาว เป็นต้น หรือดื่มน้ำเปล่า
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ เช่น ชวนคุยในเรื่องที่สนุกตื่นเต้น เป็นต้น
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน เช่น แอมโมเนีย เป็นต้น
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
Dyspnea
สาเหตุของการหายใจลาบาก
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ เช่น การทำงานของหัวใจไม่ดี เนื่องจากกล้ามเนื้อบางส่วนของหัวใจ
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท ทำให้การควบคุมการหายใจไม่ดี เช่น โรคไขสันหลังอักเสบ
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจเช่นทางเดินหายใจอุดกั้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลาบาก
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพตามความเหมาะสม ทุก 1 - 2 ชั่วโมง
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer) เพื่อให้หายใจสะดวก
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงและให้ออกซิเจนร่วมด้วย
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Hemoptysis
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
อุบัติเหตุ
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด และพยาบาลจะต้องเฝ้าระวังการแพ้เลือดที่อาจเกิดขึ้นได้
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ผู้ป่วยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น (hyperventilation)
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดปนออกมา
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย มีเลือดเป็นสายปนกับเสมหะแต่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน
ไอจนมีเลือดสดออกมา พบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม จากมีเลือดเก่า ๆ ปนออกมาด้วย พบในวัณโรคปอด
Chest pain
อาการเจ็บหน้าอก
สาเหตุจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บตลอดเวลา
สาเหตุจากหัวใจ เช่น ภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารี
สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ มักเจ็บตรงบริเวณที่มีอาการอักเสบ และ
มักเจ็บมากเมื่อเวลาหายใจเข้าลึก ๆ หรือเวลาไอ
สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณหลังกระดูก อาจเจ็บตลอดเวลา และเจ็บมากเมื่อเวลาไอ
สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ มักมีอาการเจ็บเฉพาะที่ และเจ็บเมื่อใช้มือ
กดที่บริเวณนั้น
สาเหตุจากเส้นประสาท เช่น โรครากประสาทสันหลัง (posterior nerve root) จะปวดร้าวไปตามแขนงของประสาทintercostalnerve
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
ประเมินหาสาเหตุของอาการว่า อาการเจ็บหน้าอกเกิดจากหัวใจหรือ ปอด ถ้าเป็นอาการเจ็บ หน้าอกจากหัวใจ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจตาย
จัดเตรียมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
สังเกตอาการ ถ้าผู้ป่วยมีอาการเจ็บปวดที่เยื่อหุ้มปอด ควรแนะนำให้นอนตะแคงทับด้านที่ เป็น ถ้าอาการไม่ดีขึ้น อาจต้องให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
อาการไอ
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ เช่น ไอเนื่องจากมีฝุุ่นละอองมาก เป็นต้น
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนอง มักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
กระตุ้นให้ดื่มน้ำอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก เพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจานวน ลักษณะ สี และกลิ่นของเสมหะด้วย
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ เพื่อให้เสมหะที่ค้างในปอดเคลื่อนออกมาได้ง่าย
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลาของการไอ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough)
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
ประเมินประสิทธิภาพการไอ ลักษณะไอแห้ง ๆ หรือไอแบบมีเสมหะ
สาเหตุของการไอ
ฝุุ่น ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ำที่สาลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้การไอมากขึ้น
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ มีอาการไอน้อยกว่า 2 สัปดาห์