Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ :warning: :warning: -…
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
:warning: :warning:
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย :check:
ความดันออกซิเจน ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
ความดันออกซิเจนและการขนส่งสู่เนื้อเยื่อ หลังจากเลือดที่ออกจากปอดมีความดันออกซิเจนในเลือดสูงอยู่ เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนจำนวนน้อยสู่กระแสเลือดเพื่อส่งไปหาเซลล์ต่างๆ
เลือดเป็นตัวกลางการส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์ส่วน เม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจนที่จะค่อยๆ ปล่อยออกซิเจนออกมาเรื่อย ๆ
สุดท้ายออกซิเจนในเม็ดเลือดแดงก็จะ
เยอะขึ้นตาม
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดหนึ่ง
มีหน้าที่หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน มีอายุขัยประมาณ 120 วัน
การหมุนเวียน เพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ า เพื่อเกิดสารประกอบ กรดคาร์บอนิก (H2CO3) และแตกตัวเป็นไฮโดรเจนไออน (H+) กับไบคาร์บอเนต (HCO3)
ปัจจัยที่มีผลต่อการไดรับออกซิเจนของบุคคล :check:
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง ภาวะดังกล่าวจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลง มีผลให้ออกซิเจนมีระดับตำ่กว่าปกติ
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง ภาวะดังกล่าวทำให้อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลง
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ ขณะออกกำลังกาย ร่างกายต้องการออกซิเจนมากกว่าปกติอาจทำให้ได้รับออกซิเจนไม่ทั่วถึงและเพียงพอ เป็นสาเหตุทำให้เหนื่อยเร็ว
ความเครียด ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ การหายใจถี่ขึ้น
อาหารที่มีไขมันมาก จะมีปริมาณออกซิเจนน้อย เวลารับประทานอาหารที่มีไขมันมาก
ผู้สูงอายุ ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น ความเสื่อมเกิดขึ้นได้ทุกระบบในร่างกาย
การสูบบุหรี่ มีผลเสียต่อร่างกายในหลาย ๆ ระบบ
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์ การดื่มในปริมาณมากเกินควรจะส่งผลให้ร่างกายเกิดผลเสียแบบเฉียบพลับและเรื้อรัง
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน :check:
2 การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1) ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas: ABG)
2) ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation)
3) การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb)
ในเลือดค่าฮีโมโกลบินปกติในผู้หญิง11.5 – 16.5 gm % (กรัมเปอร์เซนต์) และในผู้ชาย 13.0 - 18 gm % (กรัมเปอร์เซนต์)
1 การประเมินสภาพร่างกาย
1) ระบบทางเดินหายใจ ระยะแรกของเซลล์พร่องออกซิเจนอย่างอ่อน
2) ระบบหัวใจและหลอดเลือด ประเมินพบ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นในระยะแรก เพื่อปรับชดเชย ระยะต่อมาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
3) ระบบประสาทส่วนกลาง สังเกตและประเมินพบ ความรู้สึกตัวของผู้ปุวยเปลี่ยนแปลงกระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ
4) ระบบผิวหนัง ระยะแรก พบว่า ผิวหนังผู้ปุวยเย็น ซีด เพราะร่างกายจะตอบสนองต่อภาวะพร่องออกซิเจน โดยหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะ
5) ระบบทางเดินอาหาร ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้อาเจียนในระยะแรก
สาเหตุของ hypoxia และหรือ hypoxemia พบความผิดปกติของระบบต่าง ๆ
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด เช่น โรคหัวใจชนิดต่าง ๆ หรือภาวะช็อกจากสาเหตุต่าง ๆ
โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อย เช่น ภาวะโลหิตจาง เป็นต้น
ระบบเผาผลาญเมตาบอลิซึมผิดปกติต่าง ๆ
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย ความผิดปกติของกล้ามเนื้อ การบาดเจ็บของสมอง
ผู้ปุวยที่ได้รับการผ่าตัดโดยเฉพาะการผ่าตัดส่วนอกและช่องท้อง
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ :check:
อาการไอ (Cough)
เปนกลไกการตอบสนองของรางกายอยางหนึ่งตอสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจ และเปนกลไก ปองกันที่สำคัญของรางกายในการกำจัดเชื้อโรค เสมหะ
สาเหตุของการไอ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ มีอาการไอน้อยกว่า 2 สัปดาห์ อาจเกิดจาก
ไข้หวัด การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่าง
ฝุ่น ควัน สารเคมี อาหาร หรือนํ้าที่สำลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้การไอมากขึ้น
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ เช่น ไอเนื่องจากมีฝุุนละอองมาก เป็นต้น
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนอง มักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
ประเมินประสิทธิภาพการไอ ลักษณะไอแห้ง ๆ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลาของการไอ
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจำนวน ลักษณะ สีและกลิ่นของเสมหะด้วย
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
กระตุ้นให้ดื่มน้้าอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก เพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ เพื่อให้เสมหะที่ค้างในปอดเคลื่อนออกมาได้ง่าย
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough)
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
Hemoptysis
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดสดออกมา พบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดปนออกมา
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย มีเลือดเป็นสายปนกับเสมหะแต่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม จากมีเลือดเก่า ๆ ปนออกมาด้วย พบในวัณโรคปอด
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
อุบัติเหตุ
การอักเสบ ทำให้เกิดอาการไออย่างรุนแรง
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ให้ผู้ปุวยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด
ผู้ปุวยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น (hyperventilation)
Hiccup
สาเหตุของอาการสะอึก
โดยทั่วไป อาการสะอึกเป็นอาการปกติทั่วไป ไม่ได้เกิดจากโรค โดยมีสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย
การสะอึกต่อเนื่อง หรือ อาการสะอึกที่ควบคุมรักษายาก มักเป็นอาการสะอึกที่เกิดจากพยาธิสภาพของโรค โดยโรคที่พบบ่อย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน เช่น แอมโมเนีย เป็นต้น
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด เช่น น้ ามะนาว เป็นต้น หรือดื่มน้ าเปล่า
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
แนะนำให้หายใจเข้าออกในถุงปิด เพื่อเพิ่มก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ เช่น ชวนคุยในเรื่องที่สนุกตื่นเต้น
Dyspnea
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น ทางเดินหายใจอุดกั้น หรือปอดถูกทำลาย เป็นต้น
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ เช่น การทำงานของหัวใจไม่ดี
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท ทำให้การควบคุมการหายใจไม่ดี
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
ดูแลให้ผู้ปุวยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพตามความเหมาะสม
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ สำหรับช่วยเหลือผู้ปุวยฉุกเฉิน
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer) เพื่อให้หายใจสะดวก
ฝึกให้ผู้ปุวยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Chest pain
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
สังเกตอาการ ถ้าผู้ปุวยมีอาการเจ็บปวดที่เยื่อหุ้มปอด
ประเมินหาสาเหตุของอาการว่า อาการเจ็บหน้าอกเกิดจากหัวใจหรือ ปอด
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ปุวย
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน :check:
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล (anxiety) กระสับกระส่าย (restlessness)
ระดับการมีสมาธิลดลง (decreased ability to concentrate)
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (decreased level of consciousness)
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น (increased fatigue)
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน (vertigo)
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป (behavior changes)
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น (increase pulse rate) ขั้นรุนแรง และพบ bradycardia
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก (increase rate and depth respiration)
ความดันโลหิตลดลง (blood pressure will decrease)
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ (cardiac dysthymias)
มีภาวะซีด (pallor)
มีอาการเขียวคล้ า (cyanosis)
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุูม (clubbing)
อาการหายใจล าบาก (dyspnea)
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดตํ่า
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งฟอง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way)
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ :check:
1) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดตํ่า(Low flow system)
(1) การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula) หรือ nasal prongs
(2) การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
(2.1) Simple mask
(2.2) Reservoir bag (partial rebreathing mask)
(2.3) Non rebreathing mask
2) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
(1) การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
(2) การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)
(3) การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
(4) การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
(5) การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET)
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
1) ชนิดละอองโต (Bubble)
2) ชนิดละอองฝอย (Jet)
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
1) ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
2) ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน :check:
1 การจัดท่าผู้ป่วย
2 การบริหารการหายใจ
1) การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม (diaphragmatic breathing)
2) การหายใจโดยการห่อปาก (pursed - lip breathing)
3) การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing)
3 การดูดเสมหะ (suction)
การช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด โดยอาจมีการให้ออกซิเจน
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
การผ่อนคลายความวิตกกังวล
วิธีการดูดเสมหะ
เป็นการใช้สายยางชนิดดูดเสมหะสอดใส่เข้าทางเดินหายใจแล้วดูด
เสมหะออกจากทางเดินหายใจ เพื่อช่วยผู้ป่วยที่ไม่สามารถไอเพื่อขับเสมหะออกได
เครื่องดูดเสมหะ มีให้เลือกใช้อยู่ 2 ชนิด
เครื่องดูดเสมหะชนิดเคลื่อนที่ (mobile suction)
ชนิดติดฝาผนัง (wall suction)
วิธีการดูดเสมหะผู้ปุวย มี 2 วิธี
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal) หรือปาก (oropharyngeal suction)
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ(Endotracheal)
การดูดเสมหะทางปาก
สังเกตแบบแผนและลักษณะการหายใจค่อนข้างแรงมาก อัตราการหายใจเร็ว
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงเสมหะ (adventitions sound)
สังเกตอาการเหนื่อย หายใจล าบาก ได้ยินเสียงดังขณะหายใจเข้าและออก
สังเกตลักษณะสีผิว เล็บ และริมฝีปาก มีอาการ cyanosis
สังเกตอาการซึมลงของผู้ปุ่ย
ประเมินอาการไอมีประสิทธิภาพที่จะขับเสมหะออกได้ลดลง
สังเกตลักษณะเสมหะ เหนียว และมีจ านวนมาก
สังเกตอาการอาเจียนหรือขย้อนอาหารอยู่ในปาก
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน :check:
ข้อควรปฏิบัติและต้องคำนึงถึง
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias)
อาจเกิดการหยุดหายใจ
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจนชนิดต่าง ๆ
ล้างมือให้สะอาด สวมmask เพื่อปูองกันการนำเชื้อเข้าสู่ผู้ป่วย
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว เพื่อประเมินอาการผู้ปุวย
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจนที่มาจากชนิดผนัง (wall type)
ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่นํ้ากลั่นปลอดเชื้อ
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter
หมุนปุุมเปิด flow meter
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน :check:
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)