Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ระบบทางเดินหายใจและกลไกการทำงาน
ระบบทางเดินหายใจจะผ่านอวัยวะหลายอย่าง
จมูก ใช้เพื่อเป็นทางเข้าของอากาศ มีหน้าที่ในการดักจับฝุุนละออง
โพรงจมูกและช่องคอ ทำหน้าที่ เพิ่มอุณหภูมิ ดักจับเชื้อโรค
ฝาปิดกล่องเสียง ทำหน้าที่กันไม่ให้อาหารที่เรากลืนตกลงสู่ ระบบทางเดินหายใจ
กล่องเสียง ใช้ในการสร้างเสียง
หลอดคอ หลอดลม และ หลอดลมฝอย ทำหน้าที่ลำเลียงอากาศ
ถุงลม ท าหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส
กลไกการหายใจของมนุษย์
การหายใจเข้า (Inspiration) จะเกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงหดตัว
การหายใจออก (Expiration) จะเกิดขึ้นหลังจากการหายใจเข้า แล้วทำให้กล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงมีการคลายตัว
การหายใจในระดับเซลล์เป็นกระบวนการทางเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างก๊าซออกซิเจนกับสารอาหารภายในเซลล์
กลไกควบคุมการหายใจ
การควบคุมแบบอัตโนมัติ
เป็นการหายใจที่ไม่สามารถบังคับได้
โดยสมองส่วน pons และmedulla เป็นตัวสร้างและส่งสัญญาณประสาทไปกระตุ้นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
ทำให้การหายใจเข้า-ออกเกิดขึ้นได้อย่างเป็นจังหวะสม่ าเสมอทั้งในยามหลับและยามตื่น
การควบคุมภายใต้อำนาจจิตใจ
เป็นการหายใจที่สามารถบังคับได้
โดยสมองส่วนหน้า เรียกว่า cerebral cortex hypothalamus
สมองส่วนหลัง เรียกว่า cerebellum
ทำให้เราสามารถควบคุม บังคับ
หรือปรับการหายใจให้เหมาะสมกับพฤติกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
เซลล์เม็ดเลือดชนิดหนึ่ง มีหน้าที่หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน
มีอายุขัยประมาณ 120วัน
ร่างกายเรามีการทำลายและการสร้างเม็ดเลือดใหม่ตลอดเวลา
แต่ละเซลล์เม็ดเลือดแดง จะมีส่วนประกอบที่เป็น Hemoglobin (ฮีโมโกลบิน)อยู่ถึง 97 %
ทำหน้าที่ในการ“จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง”
Hemoglobin (ฮีโมโกลบิน) แต่ละตัว สามารถจับกับแก๊สได้ 4โมเลกุล
ความดันออกซิเจน ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
ความดันออกซิเจนและการขนส่งสู่เนื้อเยื่อ หลังจากเลือดที่ออกจากปอดมีความดันออกซิเจนในเลือดสูงอยุ๋
เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนจฎนวนน้อยสู่กระแสเลือดเพื่อส่งไปหาเซลล์ต่างๆ
เลือดเป็นตัวกลางการส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์ส่วน เม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจนที่จะค่อยๆ ปล่อยออกซิเจนออกมาเรื่อย ๆ
ออกซิเจนในถุงลมยิ่งเยอะ ออกซิเจนในเลือดก็ยิ่งเยอะตาม และสุดท้ายออกซิเจนในเม็ดเลือดแดงก็จะเยอะขึ้นตาม
การหมุนเวียน เพื่อกฎจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซดื
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ า เพื่อเกิดสารประกอบ กรดคาร์บอนิก (H2CO3) และแตกตัวเป็นไฮโดรเจนไออน (H+) กับไบคาร์บอเนต (HCO3)
ปัจจัยที่มีผลตอการไดรับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
ภาวะดังกล่าวจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลง มีผลให้ออกซิเจนมีระดับต่ำกว่าปกติ
ทำให้ร่างกายได้ออกซิเจนน้อยกว่าปกติ ถ้าร่างกายปรับตัวไม่ได้กับภาวะพร่องออกซิเจน ทำให้เกิดการภาวะพร่องออกซิเจน
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
ภาวะดังกล่าวท าให้อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลง
การที่ร่างกายได้รับสารพิษจากอากาศ ทำให้ร่างกายต้องใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้น
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ ขณะออกกำลักกาย
ร่างกายต้องการออกซิเจนมากกว่าปกติอาจทำให้ได้รับออกซิเจนไม่ทั่วถึงและเพียงพอ
เป็นสาเหตุทำให้เหนื่อยเร็ว และอ่อนล้า
ความเครียด
เกิดภาวะนอนไม่หลับ
การหายใจถี่ขึ้น ต้องการออกซิเจนมากขึ้น
อาหารที่มีไขมันมาก
จะมีปริมาณออกซิเจนน้อย
เวลารับประทานอาหารที่มีไขมันมากจะทำให้
ปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำลง
ผู้สูงอายุ
ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น
ความเสื่อมเกิดขึ้นได้ทุกระบบในร่างกาย
ระบบการหมุนเวียนเลือดและหัวใจ ทำให้ความสามารถในการรับออกซิเจนน้อยลง
การสูบบุหรี่
มีผลเสียต่อร่างกายในหลาย ๆ ระบบ
ปอดทำให้ความสามารถในการรับออกซิเจนน้อยลง ทำให้หลอดเลือดมีคาร์บอนไดออกไซด์มาก
การสูบบุหรี่เป็นระยะเวลานาน ๆ ส่งผลให้เกิดอาการพร่องออกซิเจนเป็นมากขึ้น
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
การดื่มในปริมาณมากเกินควรจะส่งผลให้ร่างกายเกิดผลเสียแบบเฉียบพลับและเรื้อรัง ซึ่งส่งผลต่อตับ สมอง หรือหัวใจและหลอดเลือด
ถ้าปริมาณแอลกอฮอล์ในกระแสเลือดมากกว่า 400mg%
ส่งผลต่อระบบสมองทeให้ได้รับออกซิเจนน้อยลง
ระบบหัวใจและหลอดเลือดมีการสูบฉีดเลือดลดลง จนเกิดอาการหมดสติ และอาจถึงตายได้
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ
เมื่อหายใจเข้ามีเสียงดัง
แสดงอาการหายใจหอบสังเกตจากปีกจมูกบาน มีการหายใจแบบอ้าปากเสมือนว่าหิวอากาศ
ใช้กล้ามเนื้อซี่โครงและไหล่ช่วยในการหายใจเมื่อเกิดการขาดออกซิเจนระดับรุนแรงผู้ปุวยจะหยุดหายใจในที่สุด
ระยะแรกของเซลล์พร่องออกซิเจนอย่างอ่อน สังเกตพบ ผู้ปุวยมีอาการ
หายใจไม่สะดวก หายใจลำบากเมื่อนอนราบ
ต้องนั่งหายใจหลังจากนอนหลับไปแล้วระยะหนึ่งต้องลุกขึ้นมานั่งหายใจ
มีอาการกระสับกระส่าย การหายใจไม่สม่ำเสมอเวลาหายใจเข้าจะลึกกว่าเวลาหายใจออก
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ประเมินพบ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นในระยะแรก เพื่อปรับชดเชย
ระยะต่อมาหัวใจเต้นผิดจังหวะ บีบตัวช้าลง เจ็บหน้าอก และหัวใจหยุดเต้นในระยะสุดท้าย
ระบบประสาทส่วนกลาง
สังเกตและประเมินพบ ความรู้สึกตัวของผู้ปุวยเปลี่ยนแปลง
กระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ (เนื่องจากหลอดเลือดสมองขยายตัว) เพ้อ หมดสติ หรือชัก
ระบบผิวหนัง
ระยะแรก พบว่า ผิวหนังผู้ปุวยเย็น ซีด เพราะร่างกายจะตอบสนองต่อภาวะ
พร่องออกซิเจน โดยหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะสำคัญ
ต่อมาพบอาการเขียวคล้ำ โดยเห็นชัดบริเวณริมฝีปาก เล็บมือเล็บเท้า และเสียชีวิตในที่สุด
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas: ABG)
เป็นการตรวจเพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของปอด
pH เป็นตัวชี้วัดภาวะความเป็นกรดด่างของร่างกาย
PaCO2เป็นการวัดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์ ในเลือด
PaO2เป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงปริมาณของออกซิเจน (O2) ในเลือดที่จับกับ Hemoglobin
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation)
ใช้pulseoximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจนต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
การแปลผลต้องพิจารณาปริมาณเม็ดเลือดแดงและหรือค่าฮีโมโกลบินร่วมด้วย
หากวัด SPO2ได้น้อยกว่า 90% จ าเป็นต้องได้รับการรักษา ยกเว้นผู้ปุวยโรคปอดอุดตันเรื้อรัง
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb)
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อย
ระบบเผาผลาญเมตาบอลิซึมผิดปกติต่าง ๆ
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย
. ผู้ปุวยที่ได้รับการผ่าตัดโดยเฉพาะการผ่าตัดส่วนอกและช่องท้อง
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ (Cough)
สาเหตุของการไอ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ฝุุน ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ำที่สำลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้การไอมากขึ้น
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนอง มักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
ประเมินประสิทธิภาพการไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม
กระตุ้นให้ดื่มน้ าอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ
Hemoptysis
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดสดออกมาพบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดปนออกมา คือ มีเสมหะและเลือดปนเป็นเนื้อเดียวกัน
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย มีเลือดเป็นสายปนกับเสมหะแต่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม จากมีเลือดเก่า ๆ ปนออกมาด้วย
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
อุบัติเหตุ
การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ให้ผู้ปุวยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด
ผู้ปุวยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น (hyperventilation) พยาบาลต้องคอยปลอบโยน ให้กำลังใจ
Hiccup การสะอึก
สาเหตุของอาการสะอึก
กินอิ่มมากเกินไป ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทำให้เกิดแก๊ส
สูบบุหรี่จัดหรือมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของกระเพาะอาหารทันที
การสะอึกต่อเนื่อง เกิดจากพยาธิสภาพของโรค โดยโรคที่พบบ่อย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด
แนะน าให้หายใจเข้าออกในถุงปิด
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
Dyspnea อาการหายใจลำบาก
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
ทางเดินหายใจอุดกั้น
ปอดถูกทำลาย
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ
การทำงานของหัวใจไม่ดี
หัวใจตายหรือลิ้นหัวใจรั่ว
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท
โรคไขสันหลังอักเสบ
ผู้ป่วยที่หายใจลำบากอาจมีเสียง wheeze ร่วมด้วย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพตามความเหมาะสม
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย
ฝึกให้ผู้ปุวยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Chest pain อาการเจ็บหน้าอก
สาเหตุ
จากกล้ามเนื้ออักเสบ มักมีอาการเจ็บเฉพาะที่
จากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ มักเจ็บตรงบริเวณที่มีอาการอักเสบ
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บตลอดเวลา
จากหัวใจ เช่น ภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารี
จากหลอดลมอักเสบ
จากเส้นประสาท
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
สังเกตอาการ
ประเมินหาสาเหตุของอาการ
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล
ระดับการมีสมาธิลดลง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น ขั้นรุนแรง และพบbradycardia
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึกระยะต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น
ความดันโลหิตลดลง
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
มีภาวะซีด
.มีอาการเขียวคล้ำ
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุู้ม
อาการหายใจลำบาก
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจน
ทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
โดยวิธีการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในถุงลมปอด และกระแสเลือด
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งฟอง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
มีภาวะPaO2 < 60 mmHg หรือ SaO2 < 90 %
เมื่อหายใจเข้าในบรรยากาศปกติ
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia ตามมาหลังได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว
ผู้ปุวยหลังโดนไฟไหม้
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง (severe trauma)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการทำผ่าตัด
หลังการดมยาสลบ
การทำผ่าตัดใหญ่
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วยเกี่ยวกับ
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ
การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว
ข้อดีผู้ปุวยสามารถดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารได้โดยไม่ต้องปลดสายออก
ข้อเสีย อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก
Simple mask เป็นชนิดที่ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 40-50
Reservoir bagให้ความเข้มข้นสูงกว่าร้อยละ 60–90 ซึ่งสูงกว่าชนิดไม่มีถุงชนิดน ี้
Non rebreathing maskพื่อให้อากาศไหลออกสู่
ภายนอกอย่างเดียวไหลเข้าไม่ได้
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง
การให้ออกซิเจนชนิดT- piece เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนผู้ป่วยที่มีท่อทางเดินหายใจ
การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลมป็นอุปกรณ์คล้ายหน้ากากคล้อง
ไว้กับคอ
การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนที่ครอบตัวผู้ปุวยลักษณะคล้ายเต็นท์
การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygenboxป็นอุปกรณ์ใช้ครอบศีรษะและไหล่ผู้ป่วยเด็ก
การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจเป็นท่อช่วยหายใจซึ่งแพทย์
จะใส่ท่อนี้เข้าไปในหลอดลมของผู้ป่วย
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
ชนิดละอองโต (Bubble)
ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30 – 40 %
มักใช้กับ oxygen cannula, simple face mask, และ partial rebreathing mask
ชนิดละอองฝอย (Jet)
ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับผู้ปุวยที่มีเสมหะเหนียว
สายให้ออกซิเจนมักมีขนาดใหญ่และเป็นลูกฟูก
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของออกซิเจนออกจากแหล่งจัดเก็บออกซิเจน
เป็นอุปกรณ์ควบคุม
ที่ช่วยกำหนดอัตราการไหลของก๊าซออกซิเจน
ค่าแรงดันของก๊าซในถังออกซิเจนให้ลดลงเหลือเท่ากับค่าแรงดันที่ต้องการใช้จริง
ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
ก่อนใช้ออกซิเจนจากระบบท่อ ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของออกซิเจนออกจาก
แหล่งจัดเก็บออกซิเจนมาตามระบบท่อ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่ า (hypoxia) ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง
ในท่านี้จะช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น โดยกระบังลมจะหย่อนลงทำให้ปอดขยายตัวเต็มที่และมีปริมาณอากาศเพิ่มมากขึ้น
การบริหารการหายใจ
การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม
การหายใจโดยการห่อปาก
การหายใจเข้าลึกๆ
การดูดเสมหะ
การส่งเสริมการได้รับออกซิเจนให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด โดยอาจมีการให้ออกซิเจน
การผ่อนคลายความวิตกกังวล โดยแนะนำการทำสมาธิ
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด
การช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
เครื่องดูดเสมหะ มีให้เลือกใช้อยู่ 2 ชนิด
เครื่องดูดเสมหะชนิดเคลื่อนที่ (mobile suction)
ชนิดติดฝาผนัง (wall suction)
วิธีการดูดเสมหะ
การดูดเสมหะทางจมูกหรือปาก
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจหรือทางท่อหลอดคอ
อาการแทรกซ้อน
แรงกด หรือการระคายเคืองบริเวณรูจมูกและริมฝีปากอาจทำให้เกิดแผล
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
เกิดการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจ ในขณะดูดเสมหะ
อาจเกิดการสำลักจากการกระตุ้น gag reflex
ริมฝีปากแห้งเกิดเป็นแผลได้ง่าย
อาจเกิดความผิดปกติในผู้ปุวยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และเกิดภาวะความดันในสมองสูง
การเก็บเสมหะ มี 2 วิธี
การเก็บเสมหะส่งตรวจ (Sputum examination)
เพื่อส่งวิเคราะห์โรค
เพื่อให้ได้เสมหะแล้วบ้วนลงภาชนะสะอาดชนิดมีฝาปิด ควรตรวจดูให้แน่ใจว่าเป็นเสมหะไม่ใช่น้ำลาย
การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ (Sputum culture)
เพื่อต้องการทราบว่าผู้ปุวยติดเชื้อชนิดใด
มีปฏิกิริยาต่อยาปฏิชีวนะตัวใด และเพื่อปรับเปลี่ยนแผนการรักษา
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ข้อควรปฏิบัติและต้องคำนึงถึง
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา
การได้รับออกซิเจนความเข้มข้น
สูงเป็นระยะเวลานาน ๆ
จะเกิดกับหลอดเลือดหลังเลนส์เปลี่ยนแปลง มีผลท าให้ปิดกั้นล าแสงที่พุ่งตรงไปจอตาจึงเกิดความผิดปกติในการเห็น
อาจเกิดการหยุดหายใจ
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจนชนิดต่าง ๆ
ล้างมือให้สะอาด สวมmask เพื่อป้องกันการนำเชื้อเข้าสู่ผู้ปุวย
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่น้ำกลั่นปลอดเชื้อ
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter จะได้ปริมาณของออกซิเจนมีหน่วยเป็นลิตรต่อนาทีตามที่ต้องการ
หมุนปุุมเปิด flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไว้ 1 – 2 นาที
กรณีให้ nasal cannula ให้ปฏิบัติ
ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้าง และทุก 8 ชั่วโมงเพื่อให้ช่องจมูกโล่ง
สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง 2 ข้างโดยให้ส่วนโค้งแนบไปกับโพรงจมูก
กรณีให้ mask ให้ปฏิบัติ
simple mask ครอบหน้ากากบริเวณสันจมูกและปากให้แนบสนิท
ชนิดมีถุง เปิดออกซิเจนไหลผ่านถุง 10 -20 ลิตร/ นาที จนถุงโปุงเต็มที่เพื่อไล่ก๊าซอื่นที่ค้างในถุงออกรวมทั้งทดสอบถุงไม่รั่วแล้ว
กรณีให้ oxygen hood (oxygen box) ให้ปฏิบัติ
ต่อท่อออกซิเจนเข้ากับกล่อง
วางครอบเฉพาะศีรษะและไหล่ ระวังไม่ให้สายอยู่ใกล้หน้าเด็ก ให้ออกซิเจนในปริมาณพอเพียงและไม่ให้ออกซิเจนระคายเคืองตาเด็ก
กรณีให้ T- piece
ควรดูดเสมหะออกก่อนเพื่อให้ออกซิเจนไหลผ่านหลอดลมคอได้สะดวก
ต่อสาย T – piece ครอบท่อหลอดลมคอ จัดสายไม่ให้เกิดภาวะดึงรั้งกรณีผู้ปุวยที่ได้รับยาในรูปการสูดละอองยาเข้าทางเดินหายใจโดยตรง
ลงบันทึกทางการพยาบาล
อาการ สัญญาณชีพ
ปริมาณออกซิเจนที่ให้อุปกรณ์ที่ใช้
ปฏิกิริยาผู้ปุวยเมื่อได้รับออกซิเจน
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
ข้อมูลสนับสนุน
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
วัตถุประสงค์
เกณฑ์การประเมินผล
การวางแผน
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
ประเมินสภาพผู้ปุวยก่อนได้รับออกซิเจน
ปรับออกซิเจนให้ได้ 2 lit/ min แล้วจัดให้สาย cannula อยู่ในต าแหน่งที่เหมาะสมคล้องสายกับหูทั้งสองข้างให้พอดี
จัดสิ่งแวดล้อมให้มีความปลอดภัย ติดปูายห้ามสูบบุหรี่
จัดท่านอนศีรษะสูง
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ