Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ตลาดบริการสุขภาพ - Coggle Diagram
ตลาดบริการสุขภาพ
Market function
ระบบธุรกิจประกอบด้วย 2 ส่วน
ผู้ซื้อ (consumers and firms)
Firms buy labor, capital, raw materials
Consumers purchase goods & services
ผู้ขาย (firms, workers, resource owners)
Workers sell their labor services
Resource owners rent land or sell resources.
Firms sell their goods & services
อุปสงค์ต่อสุขภาพและอุปสงค์ต่อบริการสุขภาพ
อุปสงค์ต่อสุขภาพ คือความต้องการให้สุขภาพดี
เมื่อเจ็บป่วย อุปสงค์ต่อสุขภาพ จะผลักดันให้เกิดอุปสงค์ต่อบริการสุขภาพเพื่อ
ซ่อมสร้างสุขภาพให้กลับมาอยู่ในสภาวะสุขภาพดี
เป็นอุปสงค์คนละขั้นตอนแต่มีความเกี่ยวเนื่องกัน
อุปสงค์ต่อบริการสุขภาพ จึงถือเป็นส่วนย่อยของอุปสงค์ต่อสุขภาพ
ปัจจัยที่มีผลต่ออุปสงค์ของบริการสุขภาพ
รายได้
สินค้าปกติ: รายได้เพิ่ม อุปสงค์เพิ่มเล็กน้อย
สินค้าฟุ่มเฟือย: รายได้เพิ่ม อุปสงค์เพิ่มมาก
สิ่งอื่น
ราคาสินค้าอื่น
วิธีการรักษาอื่น
ราคา
ราคาเพิ่มขึ้น อุปสงค์อาจลดลงเล็กน้อย
ราคาลดลง อุปสงค์อาจเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
การมีหลักประกันสุขภาพ
เพิ่มอุปสงค์ต่อบริการสุขภาพ
เพราะตนเองรับภาระค่าใช้จ่ายในการรักษาน้อยลง
อุปทานต่อสินค้าและบริการสุขภาพ
ราคาต่ำลง
ไม่สามารถลดการให้บริการได้เนื่องจากเป็นสินค้าคุณธรรม
มิติทางเศรษฐศาสตร์ มีบทบาทต่อการบริหารงาน
ประสิทธิภาพในการใช้ทรัพยากร
ประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ
ราคาสูงขึ้น
ไม่สามารถเพิ่มปริมาณการผลิตได้
ปรากฏการณ์ความบิดเบี้ยวของ D&Sในระบบสุขภาพ
สาเหตุ
ผู้ให้บริการมีความได้เปรียบทางข้อมูล คือ มีความรู้มากกว่าผู้รับบริการ และใช้ความได้เปรียบนี้ก่อให้เกิดความบิดเบี้ยวในระบบ D&S
ชนิด
Agency relationship
ผู้ให้บริการทำหน้าที่เสมือนหนึ่งตัวแทนของผู้รับบริการเพื่อชี้นำว่าผู้รับบริการควรได้รับการรักษาอะไรบ้าง (เหมือนช่างซ่อมแนะนำเจ้าของรถ)
Supplier induced demand
เมื่อมีอุปทานล้นเกิน จะเกิดปรากฏการณ์ “อุปทานเหนี่ยวนำอุปสงค์” เพราะแรงจูงใจทางการเงินมักทำให้ผู้ให้บริการคิดแต่เพียงการเพิ่มรายได้ของตนให้สูงสุด
แนวโน้มอุปทาน อุปสงค์ และการใช้บริการสุขภาพของประเทศไทย
การขยายตัวของอุปทานในระบบบริการสุขภาพ กับการเปลี่ยนแปลงของระบบการศึกษา เศรษฐกิจ และสังคม ทำให้แบบแผนการแสวงหาบริการสุขภาพของประชาชนไทยเปลี่ยนแปลงจากการใช้วิธีรักษาตนเองเป็นใช้บริการจากระบบมากขึ้น
การพัฒนาระบบบริการสุขภาพของประเทศไทย ได้รับการยอมรับว่าขยายตัวอย่างทั่วถึง หลังจากที่ไทยรับรองคำประกาศสุขภาพดีถ้วนหน้า สถานีอนามัยก็ขยายครบทุกตำบล และมีโรงพยาบาลชุมชนครบทุกอำเภอ
ความเข้าใจเกี่ยวกับ Externality กับอุปสงค์และอุปทาน
มุมมองของผู้บริโภค
อุปสงค์เปลี่ยนแปลงจากผลภายนอกด้านบวก
อุปสงค์เปลี่ยนแปลงจากผลภายนอกด้านลบ
มุมมองของผู้ผลิต
อุปทานเปลี่ยนแปลงจากผลภายนอกด้านบวก
อุปทานเปลี่ยนแปลงจากผลภายนอกด้านลบ
บทบาทของรัฐบาล
บริการสุขภาพ เป็นสินค้าพิเศษ หากปล่อยให้อุปสงค์แปรผันตรงกับกลไกตลาด
อาจท าให้เกิดผลเสียต่อสังคม
รัฐสามารถแทรกแซงด้วยนโยบายราคา
การใช้มาตรการทางภาษี (Tax)
การให้เงินช่วยเหลือ (Subsidy)
การควบคุมราคา (Price control)