Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ปัจจัยกำหนดอุปทานต่อบริการสุขภาพ - Coggle Diagram
ปัจจัยกำหนดอุปทานต่อบริการสุขภาพ
เป็น
พฤติกรรมของผู้ผลิต
ที่มีเป้าหมาย เช่น แสวงหากำไรสูงสุด ยอดขายสูงสุด ชื่อเสียง อำนาจ อื่นๆ
แนวคิดของอุปทาน
อุปทานของสินค้ายัง แปรผันตรงกับราคาอีกด้วย
กฏอุปทานของสินค้า คือปัจจัยอื่นๆคงที่ ยกเว้นราคาและปริมาณสินค้า
อุปทานของสินค้า ปริมาณของสินค้าที่ผลิตและจำหน่ายตามราคาและเวลาที่กำหนดไว้
เส้นอุปทานของสินค้า โค้งจากล่างซ้ายไปบนขวา
อุปทานส่วนบุคคล ปริมาณสินค้าที่ผู็ขบาย
แต่ละคนนำออกขาย
ในตลาด ณ ราคาใดราคาหนึ่งในเวลาที่กำหนด
อุปทานตลาด
ปริมาณทั้งหมด
ของสินค้าหนึ่งที่ผู้ขาย
ทุกคน
นำออกเสนอขายในตลาด
ปัจจัยที่ทำให้อุปทานมากหรือน้่อย
1.เวลาที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจการผลิต
2.ระดับการทดแทนระหว่างปัจจัยการผลิต
ปัจจัยกำหนดอุปทาน
กรรมวิธีในการผลิต
ราคาปัจจัยการผลิต
ราคา
จำนวนผู้ขาย
ราคาสินค้าอื่นๆ
ภาษีและเงินช่วยเหลือ
การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน
1.การเปลี่ยนแปลงราคาสินค้า ปริมาณเปลี่ยนตามเส้นอุปทาน
2.การเปลี่ยนของปัจจัยอื่นนอจากราคา ปริมาณจะเพิ่มหรือลดลง ณ ราคาเดิม
อุปทาน
ส่วนขาด สินค้าจะขาดตลาด
ส่วนเกิน สินค้าจะล้นตลาด
แนวคิดอุปทานต่อบริการสุขภาพ
การผลิตอยู่ภายใต้การผูกขาดของผู้ผลิต
รัฐบาลมักเข้าแทรกแซงและควบคุมผู้ผลิตที่อำนาจเหนือตลาด
การควบคุมผู้ผลิตบริการสุขภาพกันเองโดยใช้จริยธรรมและจรรยาบรรณวิชาชีพ ประพฤติปฏิบัติกัน
อุปทานของบริการสุขภาพ
ความไม่แน่นอน ทำให้ไม่สามารถ ผลิตบริการสุขภาพไว้ก่อน และไม่ได้สำรองไว้ในคลังสินค้า เหมือน สินค้าอื่นๆ
กระบวนการผลิตที่ต้องมีผู้ป่วยเข้ามาร่วมด้วย
มีความเฉพาะเจาะจงที่สูง เช่น แพทย์
มีการตอบสนองปรับตัวตามลำดับที่สลับซับซ้อนต่อความไม่แน่นอน
จึงเป็นเหตุที่ไม่สามารถนำอุปทานที่แสดงความสัมพันธ์ระหว่างราคาและปริมาณ ตามกฏของอุปทานได้
ผู้ใหคำนิยาม
Fuchs การจำกัดการเข้าสู่อาชีพแพทย์เกิดจากปัจจัยหลักสองประการ
การอนุญาตการประกอบเวชกรรมของแพทย์
การควบคุมการเข้ารับการศึกษาวิชาแพทย์ศาสตร์
McGuire และคณะ
ผู้ผลิตต้องมีบทบาทเพิ่มขึ้นสองประการ
การรับผืดชอบในฟังก์ชันอรรถประโยชน์ของผู้บริโภค
การรับผิดชอบต่อความไม่แน่นอนและความเสี่ยงที่เกิดขึ้นกับผลลัพธ์
Follandและคณะ
การใช้อำนาจผูกขาด ผู้ผลิตสามารถแยกแยะผู้บริโภคออกเป็น 2 กลุ่ม
1.กลุ่มที่ยินดีจ่ายค่าบริการสุขภาพมาก เ
ส้นอุปสงค์มีความชัน
กลุ่มที่ยินดีจะจ่ายค่าบริการสุขภาพน้อย
เส้นอุปสงค์มีความราบ
Kessel
เป็นคนแรกที่กล่าวว่า "ผู้ผลิตบริการสุขภาพสามารถใช้อำนาจผูกขาดของตนเองได้ โดยเรียกเก็บค่าบริการตามความสามารถที่ผู้รับบริการจะจ่ายได้ซึ่งทำให้ผู้ผลิตมีกำไรเพิ่มขึ้น"
การควบคุมอุปทานของการบริการสุขภาพ
จรรยาบรรณทางการแพทย์ เป็ฯหลักประกันที่ว่า แพทย์จะต้องทำดีที่สุดสำหรับผู้ป่วยแต่ละคน
การควบคุมอุปทานของบริการสุขภาพที่ใช้ในประเทศสหัฐฯ
2.การควบคุมปริมาณของบริการโรงพยาบาล
3.การควบคุมศักยภาพของโรงพยาบาล
1.การควบคุมค่าบริการของโรงพยาบาล
4.กฏหมายป้องกันการผูกขาด