Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ระบบทางเดินหายใจ
มีหน้าที่ในการ เติมก๊าซที่ สำคัญ
ระบบทางเดินหายใจจะผ่านอวัยวะหลายอย่าง
จมูก ใช้เพื่อเป็นทางเข้าของอากาศ มีหน้าที่ในการดักจับฝุุนละออง และเพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ
โพรงจมูกและช่องคอ ทำหน้าที่ เพิ่มอุณหภูมิ ดักจับเชื้อโรค และเพิ่มความชุ่มชื้นของอากาศ
ฝาปิดกล่องเสียง ทำหน้าที่กันไม่ให้อาหารที่เรากลืนตกลงสู่ ระบบทางเดินหายใจ
กล่องเสียง ใช้ในการสร้างเสียง และเป็นทางเดินหายใจ
หลอดคอ หลอดลม และ หลอดลมฝอย ทำหน้าที่ลำเลียงอากาศ ดักจับเชื้อโรค และกำจัดเชื้อโรค
ถุงลม ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส ระหว่างอากาศที่ลำเลียงมากับเส้นเลือดฝอยที่ล้อมรอบ
กลไกการหายใจของมนุษย์
การหายใจเข้า (Inspiration)
จะเกิดขึ้นเมื่อกล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครงหดตัว ดังนั้น อากาศจากภายนอกจึงสามารถผ่านเข้าสู่ปอดได้
การหายใจออก (Expiration)
จะเกิดขึ้นหลังจากการหายใจเข้า แล้วทำให้กล้ามเนื้อที่ยึดซี่โครง มีการคลายตัว ดังนั้น จึงสามารถดันให้อากาศจาก ภายในปอดออกสู่ภายนอกได้
การหายใจในระดับเซลล์
เป็นกระบวนการทางเคมีที่เกิดขึ้นระหว่างก๊าซออกซิเจนกับสารอาหาร ภายในเซลล์ทำให้เกิด (adenosine triphosphate: ATP) ขึ้นเพื่อไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
กลไกควบคุมการหายใจ
การควบคุมแบบอัตโนมัติ
ซึ่งเป็นการหายใจที่ไม่สามารถบังคับได้ โดยสมองส่วน pons และ medulla เป็นตัวสร้างและส่งสัญญาณประสาทไปกระตุ้นกล้ามเนื้อที่เกี่ยวข้องกับการหายใจ
การควบคุมภายใต้อำนาจจิตใจ
เป็นการหายใจที่สามารถบังคับได้ โดยสมองส่วนหน้า เรียกว่า cerebral cortex hypothalamus สมองส่วนหลัง เรียกว่า cerebellum ทำให้เราสามารถควบคุม
บังคับหรือปรับการหายใจให้เหมาะสมกับพฤติกรรมต่าง ๆ ของร่างกาย เช่น การพูด การร้องเพลง
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การทำงานของเม็ดเลือดแดง มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ เม็ดเลือดแดง เป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดหนึ่ง มีหน้าที่ หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน
Hemoglobin (ฮีโมโกลบิน) นี้ ทำหน้าที่ในการ“จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง”
ความดันออกซิเจน ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
เพื่อให้ออกซิเจนออกมาอยู่ในกระแสเลือดเพื่อส่งไปสู่เซลล์ โดย เลือดเป็นตัวกลางการ ส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์ ส่วน เม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจนที่จะค่อยๆ ปล่อยออกซิเจนออกมาเรื่อย ๆ พบว่า ออกซิเจนในถุงลมยิ่งเยอะ ออกซิเจนในเลือดก็ยิ่งเยอะตาม และสุดท้ายออกซิเจนในเม็ดเลือดแดงก็จะเยอะขึ้นตาม
การหมุนเวียน เพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
จะมีการขนส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลับไป ที่ปอด เพื่อทำการหายใจระบายออก
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ า เพื่อเกิดสารประกอบ กรดคาร์บอนิก (H2CO3) และแตกตัว เป็นไฮโดรเจนไออน (H+) กับไบคาร์บอเนต (HCO3)
การแลกเปลี่ยนก๊าซโดยรวมเกิดจาก ความดันออกซิเจน และ คาร์บอนไดออกไซด์ ที่แตกต่างกัน ทำให้เกิดการถ่ายเทก๊าซจากที่ความเข้มข้นสูงสู่ที่ต่ำกว่า โดยมีระบบหมุนเวียนเลือดที่มีเม็ดเลือดแดงเป็นตัวนำพา
ปัจจัยที่มีผลตอการไดรับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ
ความเครียด ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ
อาหารที่มีไขมันมาก จะมีปริมาณออกซิเจนน้อย
ผู้สูงอายุ ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น
การสูบบุหรี่ มีผลเสียต่อร่างกายในหลาย ๆ ระบบ เช่น กล่องเสียง
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
อุณหภูมิร่างกาย (Temperature: T)
ชีพจร (Pulse: P)
การหายใจ (Respiration: R)
และความดันโลหิต (Blood pressure: BP)
ระบบทางเดินหายใจ สังเกตพบ ผู้ปุวยมีอาการ หายใจไม่สะดวก หายใจล าบากเมื่อนอนราบ (Orthopnea)
ระบบหัวใจและหลอดเลือด ประเมินพบ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นใน ระยะแรก เพื่อปรับชดเชย
ระบบประสาทส่วนกลาง สังเกตและประเมินพบ ความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลง กระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ
ระบบผิวหนัง ระยะแรก พบว่า ผิวหนังผู้ป่วยเย็น ซีด
ระบบทางเดินอาหาร ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้ อาเจียนในระยะแรก
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas: ABG) เป็นการตรวจเพื่อหา ประสิทธิภาพการทำงานของปอด
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation) ใช้ pulse oximeter เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน (oxyhemoglobin) ต่อปริมาณ ฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb) ในเลือดค่าฮีโมโกลบินปกติในผู้หญิง 11.5 – 16.5 gm % (กรัมเปอร์เซนต์) และในผู้ชาย 13.0 - 18 gm % (กรัมเปอร์เซนต์)
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ (Cough)
สาเหตุของการไอ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ มีอาการไอน้อยกว่า 2 สัปดาห์
ฝุ่น ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ าที่สำลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้การไอมากขึ้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
ประเมินประสิทธิภาพการไอ ลักษณะไอแห้ง ๆ หรือไอแบบมีเสมหะ โดยการฟังเสียงไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลาของการไอ
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจำนวน ลักษณะ สี และกลิ่นของเสมหะด้วย
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร
กระตุ้นให้ดื่มน้ำอุ่นบ่อย ๆ และปริมาณมาก เพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ เพื่อให้เสมหะที่ค้างในปอดเคลื่อนออกมาได้ง่าย
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough)
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
Hemoptysis อาการไอเป็นเลือด
การมีเลือดออกจากทางเดินหายใจตั้งแต่กล่องเสียง ลงไป ไม่รวมเลือดกำเดา (epistaxis)
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
อุบัติเหตุ
การอักเสบ ท าให้เกิดอาการไออย่างรุนแรง หรือมีแผลในคอ
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต เพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและความรุนแรง ของการเสียเลือด
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด และพยาบาลจะต้องเฝูาระวังการแพ้เลือดที่อาจเกิดขึ้นได้
ผู้ป่วยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น (hyperventilation) พยาบาลต้องคอย ปลอบโยน ให้กำลังใจ
Hiccup การสะอึก
สาเหตุของอาการสะอึก
อาการสะอึกเป็นอาการปกติทั่วไป ไม่ได้เกิดจากโรค โดยมีสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย
เช่น กินอิ่มมากเกินไป ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทำให้เกิดแก๊ส (Carbonate) ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ สูบบุหรี่จัด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
1.ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน เช่น แอมโมเนีย เป็นต้น
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด เช่น น้ำมะนาว เป็นต้น หรือดื่มน้ำเปล่า
3.แนะนำให้หายใจเข้าออกในถุงปิด เพื่อเพิ่มก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
4.แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
5.ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ เช่น ชวนคุยในเรื่องที่สนุกตื่นเต้น เป็นต้น
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
Dyspnea อาการหายใจลำบาก
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น ทางเดินหายใจอุดกั้น
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ เช่น การทำงานของหัวใจไม่ดี เนื่องจากกล้ามเนื้อบางส่วนของหัวใจ
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท ท าให้การควบคุมการหายใจไม่ดี เช่น โรคไขสันหลังอักเสบ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
ดูแลให้ผู้ปุวยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพตามความเหมาะสม ทุก 1 - 2 ชั่วโมง
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ ส าหรับช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน เช่น การใส่ท่อช่วย หายใจ (endotracheal tube: ET)
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer) เพื่อให้หายใจสะดวก
ฝึกให้ผู้ปุวยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Chest pain อาการเจ็บหน้าอก
สาเหตุของอาการเจ็บอก
1) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ
2) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
3) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บ ตลอดเวลา
4) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหัวใจ
5) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ มักมีอาการแน่นหน้าอก
6) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเส้นประสาท
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
สังเกตอาการ ถ้าผู้ปุวยมีอาการเจ็บปวดที่เยื่อหุ้มปอด ควรแนะน าให้นอนตะแคงทับด้านที่ เป็น ถ้าอาการไม่ดีขึ้น อาจต้องให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา
ประเมินหาสาเหตุของอาการว่า อาการเจ็บหน้าอกเกิดจากหัวใจหรือ ปอด ถ้าเป็นอาการเจ็บ หน้าอกจากหัวใจ
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล (anxiety) กระสับกระส่าย (restlessness)
ระดับการมีสมาธิลดลง (decreased ability to concentrate)
ระดับความรู้สึกตัวลดลง (decreased level of consciousness)
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น (increased fatigue)
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน (vertigo)
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป (behavior changes)
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น (increase pulse rate)
1 more item...
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและ หลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way)
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ (Low flow system)
การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula) หรือ nasal prongs เป็นการให้ออกซิเจนทางจมูก
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask) เป็นการให้ออกซิเจนทางหน้ากากครอบปากและจมูกผู้ป่วย
Simple mask เป็นชนิดที่ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 40-50 การปรับอัตรา ไหลของออกซิเจน 5 – 8 ลิตร/ นาที
Reservoir bag (partial rebreathing mask) ให้ความเข้มข้นสูงกว่าร้อยละ 60– 90 ซึ่งสูงกว่าชนิดไม่มีถุงชนิดนี้ ออกซิเจนจากเครื่องจะไหลเข้าถุง
Non rebreathing mask ลักษณะคล้าย partial rebreathing ยกเว้นรูระบาย อากาศส่วนหน้ากากลักษณะเป็นลิ้นไหลทางเดียว (unidirectional valve) ทั้ง 2 ข้าง
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนผู้ปุวยที่มีท่อทางเดินหายใจ ทำด้วย พลาสติกเบา เพื่อไม่ให้ดึงรั้งท่อเจาะหลอดลมคอ
การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar) เป็นอุปกรณ์คล้ายหน้ากากคล้อง ไว้กับคอ ครอบบนท่อเจาะหลอดลมคอ
การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนที่ครอบตัวผู้ป่วยลักษณะ คล้ายเต็นท์ ประกอบด้วยมุ้งพลาสติก มีซิบเปิด-ปิด ครอบบนโครงโลหะ
การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box เป็นอุปกรณ์ใช้ครอบศีรษะและไหล่ผู้ป่วย เด็ก ลักษณะเป็นกระโจมหรือกล่องพลาสติกให้ออกซิเจนมีท่อนำออกซิเจนเข้าภายใน
การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET) เป็นท่อช่วยหายใจซึ่งแพทย์ จะใส่ท่อนี้เข้าไปในหลอดลมของผู้ป่วย แล้วต่อเข้ากับเครื่องช่วยหายใจ (respirator) ใช้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถ หายใจได้ด้วยตนเอง
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
ชนิดละอองโต (Bubble)
ชนิดละอองฝอย (Jet)
ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30 – 40 % สายให้ก๊าซมีขนาดเล็ก น้ำจะปุดเป็นฟองเมื่อ เปิดให้กับผู้ป่วย
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง (high fowler’s position)
การบริหารการหายใจ
การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม (diaphragmatic breathing)
การหายใจโดยการห่อปาก (pursed - lip breathing)
การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing)
การดูดเสมหะ (suction)
การช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด โดยอาจมีการให้ออกซิเจน
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
การผ่อนคลายความวิตกกังวล โดยแนะนำการทำสมาธิ
1 more item...
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias)
อาจเกิดการหยุดหายใจ ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจนชนิดต่าง ๆ
ล้างมือให้สะอาด สวมmask เพื่อป้องกันการนำเชื้อเข้าสู่ผู้ป่วย
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว เพื่อประเมินอาการผู้ป่วย
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจนที่มาจากชนิดผนัง (wall type) จากถังใช้ highpressure gas regulator ให้ถูกต้องและแน่นพอดี
ต่อกระบอกความชื้นที่ใส่น้ำกลั่นปลอดเชื้อ ให้ระดับน้ำอยู่ตรงตำแหน่งขีดที่กำหนด
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter จะได้ปริมาณของออกซิเจนมีหน่วยเป็นลิตรต่อนาทีตามที่ ต้องการ สวมท่อสายยางของอุปกรณ์ให้ออกซิเจน กับท่อ flow meter
หมุนปุุมเปิด flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไว้ 1 – 2 นาที เพื่อทดสอบว่า มีออกซิเจนไหลผ่าน และได้ปริมาณตามแผนการรักษาทุกครั้งก่อนสวมอุปกรณ์ให้ผู้ป่วย
กรณีให้ nasal cannula ให้ปฏิบัติ
3 more items...
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ