Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่7 การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน - Coggle Diagram
บทที่7 การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
ความดันออกซิเจน
เกิดการขนส่งออกซิเจนสุ่เนื้อเยื่อ
การหมุนเวียน เพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
กลไกการขนส่ง
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดยฮีโมโกลบินในนเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ำ
เพื่อเกิดสารประกอบกรดคาร์บอนิก
แตกตัวเป็น
ไฮโดรเจน
คาร์บอเนต
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ
เม็ดเลือดแดง
มีส่วนประกอบที่เป็น ฮีโมโกลบิน
ทำหน้าที่ จับกับก๊าซเพื่อขนส่ง
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
ความเครียด
นอนไม่หลับ หายใจถี่ ต้องการออกซิเจนเพิ่ม
อาหารที่มีไขมันมาก
ทานมาก
มีปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำ
การเล่นกีฬา/ออกกำลังกายหนัก
ร่างกายต้องกายออกซิเจนมากกว่าปกติ
ได้รับออกซิเจนไม่พอ
เหนื่อยเร็ว
อ่อนล้า
ผู้สูงอายุ
เกิดความเสื่อมของร่างกาย
ทำให้ความสามารถในการรับออกซิเจนลดลง
อยู่ในที่มีมลพิษสูง
ร่างกายได้รับสารพิษจากอากาศ
ต้องการออกซิเจนเพิ่ม
เพื่อใช้ในขบวนการขจัดสารพิษ
การสูบบุหรี่
ผลเสียต่อปอด
ความสามารถในการรับออกซิเจนน้อยลง
การเดินทางหรืออาศัยอยู่ในที่สูง
ได้รับออกซิเจนน้อยกว่าปกติ
พร่องออกซิเจน
การดื่มสุราและเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
ถ้าปริมาณแอลกอฮอล์ในเลือดมากกว่า400mmHg
สมองรับออกซิเจนลดลง
หัวใจและหลอดเลือดสูบฉีดเลือดลดลง
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ(Cough)
สาเหตุ
อักเสบ/บวบริเวณทางเดินหายใจ
ความร้อน-เย็นของอากาศ
ฝุ่น ควัน สารเคมี อาหารหรือน้ำที่สำลักเข้าไป
ลักษณะของการไอ
ไอแห้งๆไม่มีเสมหะ
ไอมีเสมหะ เสมหะเป็นหนอง
การพยาบาล
ถ้าไอมเสมหะให้สังเกต บันทึกจำนวน ลักษณะ สี กลิ่น
ดูแลความสะอาดของปากและฟัน
กระตุ้นดื่มน้ำอุ่นบ่อยๆปริมารมากเพื่อเสมหะอ่อนตัว
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ ระยะเวลาการไอ
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
ประเมินประสิทธิภาพการไอ
ดูแลให้ยาเพื่อบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
อาการไอเป็นเลือด(Hemoptysis)
สาเหตุ
การอักเสบ
เนื้องอก มะเร็ง
อุบัติเหตุ
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่างๆ
การพยาบาล
ประเมินชีพจร หายใจ ความดันโลหิต
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ผู้ป่วยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น
ชนิด
ไอจนมีเลือดปนออกมา
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
ไอจนมีเลือดสดออกมา
ไอจนมรเสมหะมีคล้ายสนิม
อาการเจ็บหน้าอก(Chest pain)
สาเหตุ
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
หัวใจ
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
หลอดลมอักเสบ
กล้ามเนื้ออักเสบ
เส้นประสาท
การพยาบาล
ประเมินสาเหตุของอาการว่าอาการเจ็บหน้าอกเกิดจากหัวใจหรือปอด
จัดเตรียมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ป่วย
สังเกตอาการ
ถ้ามีอาการเจ็บปวดที่เยื่อหุ้มปอด แนะนำให้นอนตะแคงทับด้านที่เป็น
การสะอึก(Hiccup)
การพยาบาล
แนะนำให้ายใจเข้าออกในถุงปิด
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพักๆ
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
สาเหตุ
ทั่วไป
ดื่มเครื่องดื่มที่เกิดแก๊ส,แอลกอฮอล์
สูบบุหรี่
กินอิ่มมากเกินไป
ยาบางชนิด เช่น ยาเคมีบำบัดรักษาโรคมะเร็ง
การสะอึกอย่างต่อเนื่อง
เกิดจากพยาธิสภาพของโรค
โรคทางสมอง
โรคกรดไหลย้อน
โรคไตวาย
โรคตับวาย
ภาวะหลังการผ่าตัดกระเพาะอาหาร/ในช่องท้อง
การหายใจลำบาก(Dyspnea)
สาเหตุ
เกี่ยวกับหัวใจ
การทำงานของหัวใจไม่ดี
เกี่ยวกับประสาท
การควบคุมการหายใจไม่ดี
เกี่ยวกับทางเดินหายใจ
อุดกั้น หรือ ปอดถูกทำลาย
การพยาบาล
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆสำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม /ยาขับเสมหะตสมแผนการรักษา
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ/ประเมินสัญญาณชีพทุก1-2ชม.
ดุแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย(nebulizer)เพื่อให้หายใจสะดวก
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูง/ให้ออกซิเจนร่มด้วย
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจและไออย่างมีประสิทธิภาพ
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบประสาทส่วนกลาง
ประเมิน
สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ เพ้อ หมดสติ ชัก
ระบบผิวหนัง
ประเมิน
ระยะแรก
ผิวหนังเย็นซีด
ระยะต่อมา
เขียวคล้ำบริเวณริมฝีปาก เล็บมือ/เท้าและเสียชีวิต
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ประเมิน
ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นในระยะแรก
หัวใจเต้นผิดจังหวะ บีบตัวช้าลง
หัวใจหยุดเต้นในระยะสุดท้าย
ระบบทางเดินอาหาร
ประเมิน
อาการคลื่นไส้ อาเจียน
ระบบทางเดินหายใจ
สังเกต
กระสับกระส่าย
หายใจไม่สม่ำเสมอ หายใจเข้าจะลึกกว่าหายใจออก
หายใจลำบากเมื่อนอนราบ(Orthopnea) ต้องลุกขึนมานั่งหายใจ
หายใจแบบอ้าปากเสมือนหิวอากาศ(air hunger)
หายใจไม่สะดวก
การเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation)
ใช้ Pulse oximeter
อุปกรณ์วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจนต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน(Hemoglobin : b)
ค่าปกติ
ผู้หญิง
11.5 - 16.5 gm%
ผู้ชาย
13.0-18 gm%
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas : ABG)
การประเมินการทำงานของ
ปอด
ประเมินความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซ การหายใจ
ค่านี้บ่งบอกความสามารถของฮีโมโกลบิน
ในการจับออกซิเจนเข้าเซลล์
นำคาร์บอนไดออกไซด์ออกจากเซลล์
ประกอบด้วย
PaO2
เป็นตัวบ่งชี้ให้ทราบถึงปริมาณของออกซิเจน
HCO3
เป็นการวัดค่าความเข้มข้นไฮโดรเจน
SaO2
เป็นค่าเปรียบเทียบระหว่างฮีโมโกลบินที่มีO2อิ่มตัวกับความสามารถสูงสุดของฮีโมโกลบินที่จะจับO2ได้
PaCO2
เป็นการวัดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์
pH
ชี้วัดภาวะความเป็นกรดด่างของร่างกาย
การแปลผล
ภาวะระบบทางเดินหายใจเป็นด่างเฉียบพลัน
pH สูง PaCO2 ต่ำ HCO3 ปกติ
อาการ
hyperventilation
หัวใจเต้นเร็ว
ประสาทสัมผัสเปลี่ยนแปลงไป
ชาตามมือ/หน้า
ภาวะการเผาผลาญเป็นกรดเฉียบพลัน
pHและHCO3 ต่ำ ค่าPaCO2 ปกติ
อาการ
ปวดศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน ท้องเสีย
สั่นกระตุก(tremor)
ชัก (convulsion)
ภาวะระบบทางเดินหายใจเป็นกรดเฉียบพลัน
pH ต่ำ PaCO2 สูง HCO3 ปกติ
อาการ
hypoventilation
ง่วงเหงาหาวนอน
ระดับความรู้สึกลดลง
ประสาทสัมผัสเปลี่ยนแปลง
หัวใจเต้นเร็ว ไม่เป็นจังหวะ
ภาวะการเผาผลาญเป็นด่างเฉียบพลัน
pHและHCO3 สูง ค่าPaCO2 ปกติ
อาการ
คล้ายกับmetabolic acidosis แต่ไม่มีอาการปวดศีรษะ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
ข้อบ่งชี้ของการให้ออกซิเจน
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง
การให้ออกซิเจนเป็นช่วงเวลาสั้นๆในการผ่าตัด
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะhypoxemiaตามมาหลังรับการักษาเบื้องต้น
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจากparaquat เช่นยาฆ่าหญ้า
ขณะทำการผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ ควจำกัดความเข้มข้นของออกซิเจนให้ต่ำที่สุด
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผุ้ป่วยที่หายใจเอง
ควรระวังการให้ความชื้นร่สมกับออกซิเจน
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ(lung atelectasis) , ออกซิเจนเป็นพิษ(Oxygen toxicity)
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
ลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ ระบบการไหลเวียนโลหิต/หลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
รักษาภาวะพร่องออกซิเจน
ออกซิเจนในเลือดต่ำ
รักษาโดยเพิ่มปริมาณออกซิเจนในถุงลมปอด/กระแสเลือด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
ตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยทางเดินหายใจ(Clear air way)
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ/ทุก2-3ชม.
สังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
ความผิดปกติของสีผิว
ระดับความรู้สึกตัว
ตรวจวัดสัญญาณชีพ
วัดปริมสตรหสยใจเข้า-ออกต่อครั้ง
ติดตามผลค่าก๊าซให้ออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น ขั้นรุนแรงจะพบbradycardia
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยงแปลง
อาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
อัตราการหาย
ระยะแรก เร็วลึก
ระยะต่อมา สั้นตื้น
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
ภาวะซีด
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
ระดับการมีสมาธิลดลง
วิตกกังวล กระสับกระส่าย
ความดันโลหิตลดลง
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนนิ้วปุ้ม
อาการเขียวคล้ำ
หายใจลำบาก
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่างๆ
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง(High flow system)
การให้ออกซิเจนชนิดcroupette tent
การให้ออกซิเจนชนิดhood หรือ oxygen box
การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม(tracheostomy collar)
การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ(endotracheal tube : ET)
การให้ออกซิเจนชนิดT-piece
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ (Low flow system)
การให้ออกซิเจนชนิเเขี้ยว(nasal cannula)
ข้อดี : ผู้ป่วยสามารถดื่มน้ำ/รับประทานอาหารได้โดยไม่ต้องปลดสสายออก
ข้อเสีย : อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก(mask)
simple mask
Reservoir bag (partial rebreathing mask)
Non rebreathing mask
ระบบให้ความชื้น(Humidification)
ชนิดละอองโต(Bubble)
ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ
ชนิดละอองฝอย(Jet)
ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับผู้ป่วยเสมหะเหนียว
แหล่งให้ออกซิเจน(Oxygen source)
ระบบท่อ (Oxygen pipeline)
ถังบรรจุออกซิเจน (oxygen tank)
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การบริหารการหายใจ
หายใจโดยการห่อปาก(pursed - lip breathing)
การหายใจเข้าลึกๆ(deep breathing)
หายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม(diaphramatic breathing)
การดูดเสมหะ(Suction)
เครื่องดูดเสมหะ
เครื่องดูดเสหมะชนิดเคลื่อนที่(mobile suction)
ชนิดติดฝาผนัง(wall suction)
วิธีดูดเสมหะ
ดูดเสมหะทางจมูก(nasopharygeal)หรือ ปาก(oropharyngeal suction)
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ(Endotracheal)
การเก็บเสมหะส่งตรวจ
การเก็บเสมหะส่งตรวจ(Sputum examination)
การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ(Sputum culture)
การจัดท่าผู้ป่วย
ออกซิเจนในเซลล์ต่ำ
ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง(high fowler's position)
หายใจลำบาก
ท่า orthopnea position
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
ข้อควรปฏิบัติและควรคำนึงถึง
อาจเกิดการทำลายเนื้อเยื่อปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา
อาจทำให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดการหยุดหายใจ
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจเกิดอุบัติเหตุจากการเกิดไฟไหม้หรือระเบิด
หลักปฎิบัติในการให้ออกซิเจนต่างๆ
หมุนปุ่มเปิดflow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไว้1-2นาที
กรณีให้nasal cannula
ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้าง/ทุก8ชม.
สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง2ข้างโดยให้ส่วนโค้งแนบไปกับโพรงจมูก
ปรับระดับลูกลอยในflow meter จะได้ปริมาณออกซิเจนมีหน่วยเป็นลิตรต่อนาที
กรณี mask
simple mask
ครอบหน้ากากบริเวณสันจมูก/ปากให้แนบสนิท
ชนิดมีถุง
เปิดออกซิเจนไหลผ่านถุง10-20ลิตร/นาทีจนถุงโป้งเต็มที่
ต่อกระบิอกความชื้นที่ใส่น้ำกลั่นปลิดเชื้อ ให้ระดับน้ำอยู่ตรงตำแหน่งขีดที่กำหนดข้าง
กรณีให้oxygen hood (oxygen box)
ต่อท่อออกซิเจนเข้ากับกล่อง
วางครอบเฉพาะศีรษะและไหล่ ระวังไม่ให้สายอยู่ใกล้หน้าเด็ก
ใส่ flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจน
กรณีให้T-piece
ดูดเสมหะออกก่อนเพื่อให้ออกซิเจนไหลผ่านสะดวก
ต่อสายT-piece ครอบท่อหลอดลม จัดสายไม่ให้เกิดภาวะดึงรั้ง
ประเมินสัญญาณชีพ ระดับความรู้สึกตัว
ลงบันทึกทางการพยาบาล
ล้างมือให้สะอาด สวมmask
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การวินิจฉัยทางการพยาบาล(Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล(Planning)
การประเมินภาวะสุขภาพ(Health assessment)
การปฏิบัติการพยาบาล(Implementation)
การประเมินผลการพยาบาล(Evaluation)