Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสำคัญและปัจจัยที่มีผลต่อ
การได้รับออกซิเจนของบุคคล
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การทำงานของเม็ดเลือดแดง
มีหน้าที่ขนส่งก๊าซเม็ดเลือดแดง
มีการทำลายและสร้างเม็ดเลือดใหม่ตลอดเวลา
ส่วนประกอบเป็น Hemoglobin (ฮีโมโกลบิน)
ความดันออกซิเจน
มีความดันในเลือดสูงเม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนน้อย
ความเข้มข้นออกซิ้จนในเลือดลดลง เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนจำนวนมากขึ้น
การหมุนเวียน
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ำ เพื่อเกิดสารประกอบ กรดคาร์บอนิก (H2CO3)
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ
ความเครียด
อาหารที่มีไขมันมาก
ผู้สูงอายุ
การสูบบุหรี่
การดื่มสุราและเครื่องเครื่อดื่มที่มีแอลกอฮอล์
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
ระบบทางเดินหายใจ
อาการหายใจไม่สะดวก
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นในระยะแรก
ระบบประสาทส่วนกลาง
สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ
ระบบผิวหนัง
อาการเขียวคล้ำ
ระบบทางเดินอาหาร
ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง
pH ตัวชี้วัดความเป็นกรดด่าง ค่าปกติ อยู่ระหว่าง 7.35-7.45
PaCO2 วัดความดันของคาร์บอนไดออกไซด์(CO2)
ในเลือด ค่าปกติอยู่ระหว่าง 35-45 mmHg
PaO2
ตัวบ่งชี้ถึงปริมาณของออกซิเจน (O2) ในเลือดที่จับกับ Hemoglobin
แปลผล 3 ระดับ
Mild hypoxemia
มีค่าระหว่าง 60 – 80 mmHg
Moderate hypoxemia
มีค่าระหว่าง 40 - 60 mmHg
Severe hypoxemia
มีค่าน้อยกว่า 40 mmHg
HCO3 วัดค่าความเข้มข้นไฮโดรเจนไอออน ค่าปกติอยู่ระหว่าง 18-25 mEg/L
SaO2 ค่าเปรียบเทียบระหว่าง Hemoglobin
ที่มี O2 ค่าปกติอยู่ระหว่าง 97-100 %
ภาวะระบบทางเดินหายใจ
เป็นกรดเฉียบพลัน
ง่วงเหงาหาวนอน
หัวใจเต้นเร็วไม่เป็นจังหวะ
เป็นด่างเฉียบพลัน
หัวใจเต้นเร็ว
ชา หมดความรู้สึก
ภาวะการเผาผลาญ
เป็รกรดเฉียบพลัน
คลื่นไส้อาเจียน
ท้องเสีย
เป็นด่างเฉียบพลัน
ไม่มีอาการปวดศรีษะ
ค่าการอิ่มตัวของ
ออกซิเจนในเลือด
ใช้ pulse oximeter
วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน
ต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
ปกติอยู่ระหว่าง 98 - 99%
การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน
ระบบทางเดินหายใจ
ระบบหัวใจและหลอดเลือด
โรคเลือด
ระบบเผาผลาณเมตาบอลิซึมผิดปกติ
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลาย
ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัด
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติ
อาการไอ
สาเหตุ
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ฝุ่น ควัน สารเคมี
ความร้อน - เย็นของอากาศ
ลักษณะ
ไอแห้งๆ
ไอเสมหะ
กาพยาบาล
ประเมินประสิทธิภาพการไอ
สังเกต เสียง ความถี่ และระยะของการไอ
ไอมีเสมหะ บันทึกจำนวน สี และกลิ่น
ดื่มน้ำอุ่นบ่อยๆ
ดูเเลความสะอาดปาก ฟัน
เปลี่ยนอิริยาบถบ่อย ๆ
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
ให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอ
Hemoptysis
ชนิดการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดสดออกมา
ไอจนมีเลือดปนออกมา
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม
สาเหตุ
อุบัติเหต
การอักเสบ
เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอด
การพยาบาล
พักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
เสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด
คอยปลอบโยน ให้กำลังใจ
Hiccup
สาเหตุอาการสะอึก
ไม่ได้เกิดจากโรค
กินอิ่มมากเกินไป
ดื่มเครื่องดื่มที่ทำให้เกิดแก๊ส
ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
สูบบุหรี่
ยาบางชนิด
การสะอึกต่อเนื่อง
เกิดจากพยาธิสภาพของโรค
โรคทางสมอง
โรคกรดไหลย้อน
โรคไตวาย
ภาวะหลังผ่าตัดกระเพาะอาหารหรือในช่องท้อง
การพยาบาล
ดมสารที่มีกลิ่นฉุน
ชิมของเปรี้ยวจัด
หายใจเข้าออกในถุงปิด
กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
เบี่ยงเบนความสนใจ
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
Dyspnea
สาเหตุการหายใจลำบาก
ทางเดินหายใจอุดตัน
การทำงานหัวใจไม่ดี
โรคไขสันหลังอักเสบ
การพยาบาล
ให้ผู้ปุวยนอนศีรษะสูง
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ
ให้ยาขยายหลอดลม
ให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย
ฝึกหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
Chest pain
สาเหตุอาการเจ็บหน้าอก
เยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
ภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารี
หลอดลมอักเสบ
โรครากประสาทสันหลัง
การพยาบาล
สังเกตอาการ
ประเมินหาสาเหตุอาการ
จัดเตรียมอุปกรณ์
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดง
วิตกกังวล
ระดับการมีสมาธิลดลง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
วิงเวียนศรีษะ
อ่อนเพลีย เหนื่อยล้า
ความดันโลหิตลดลง
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
อัตราการหายใจเร็วและลึก
อัตราการเต้นชีพจรเร็วขึ้น
พฤติกรรมเปลี่ยนแปลง
ภาวะซีด
หายใจลำบาก
เขียวคล้ำ
พบนิ้วปุ้ม
ข้อบ่งชี้
มีภาวะPaO2 < 60 mmHg หรือ SaO2 < 90 %
เกิดภาวะ hypoxemia
ภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง
ให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้นๆ
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อน
ภาวะกดการหายใจผู้ป่วยที่หายใจเอง
เกิดภาวะปอดแฟบ
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจาก paraquat
ควรจำกัดความเข้มข้นของออกซิเจนที่ใช้ในต่ำที่สุด
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจน
กาพยายาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
สังเกตและประเมินสภาวะผู้ป่วย
วัดสัญญาณชีพ
ความผิดปกติของสีผิว
วัดปริมาตรหายใจเข้า-ออกแต่ละครั้ง
ระดับความรู้สึก
ติดตามผลค่าก๊าซให้ออกซิเจน
ตรวจอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ตรวจดูยาง
ขวดทำความชื้นมีน้ำอยู่พอเหมาะ
ออกซิเจนไม่รั่ว
ต้องให้มีออกซิเจนอยู่เสมอ
ทำความสะอาดและทำให้ปลอดเชื้อ
ดูแลทางเดินหายใจ
จัดท่านอน
ดูดเสมหะที่ค้าง
สอนไออย่างถูกวิธี
กระตุ้นให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ
ดูแลความสะอาดจมูกและปาก
จิบน้ำบ่อยๆ
ทำความสะอาดช่องจมูก
ดูแลด้านจิตใจ
บอกประโยชน์การได้รับออกซิเจน
พยาบาลมีความชำนาญ
แนะนำ อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจ
ควบคุมอัตราการไหลของออกซิเจนให้เพียงพอ
สนใจ รับฟังผู้ป่วย
ให้เวลาผู้ป่วยในารพูดคุย
การบริหารการหายใจ
ใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม
ตรวจดูให้แน่ใจว่าจมูก หลอดลม ไม่มีน้ำมูก
ช่วยเหลือผู้ปุวยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย
สอนผู้ปุวยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก
แนะนำให้ผู้ปุวยหยุดหายใจช้าๆ
กระตุ้นให้ผู้ปุวยหดเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง
การห่อปาก
จัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย
แนะนำผู้ป่วยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก
หายใจออกทางปากช้า ๆ โดยการห่อปาก
ให้ผู้ป่วยตั้งใจเป่าลมออกทางปากช้า ๆ
การหายใจเข้าลึกๆ
รวบตรึงบริเวณผ่าตัดด้วยหมอน
จัดท่าให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึก ๆ และไอได้สะดวก
แนะนำให้ผู้ปุวยหายใจเข้าลึก ๆ อย่างช้า ๆ
การดูดเสมหะ
วิธีการดูดเสมหะ
ทางจมูกหรือปาก
เครื่องใช้
oral airway หรือ nasal airway
เครื่องดูดเสมหะ
สายหล่อลื่นหรือน้ำกลั่น
สายดูดเสมหะ
ท่อต่อ
ไม้กดลิ้นที่สะอาด
ขวดน้ำเกลือใช้ภายใน
อาการแทรกซ้อน
การระคายเคืองบริเวณจมูก
ติดเชื้อได้ง่าย
เกิดการสำลักจากการกระตุ้น
ริมฝีปากแห้งเกิดแผลง่าย
เกิดความผิดปกติในผู้ป่วยโรคหัวใจ
การพยาบาล
แสดงท่าทางสุภาพอ่อนโยน
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าในถึงวัตถุประสงค
บอกให้ผู้ปุวยทราบก่อน
อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจว่าจะมีการหายใจลำบากในขณะดูด
ทำการดูดด้วยความเบามือ และนุ่มนวล
หลังดูดเสมหะเสร็จเช็ดท าความสะอาด
พูดให้กำลังใจก่อนเดินออกจากเตียงผู้ป่วย
ทางท่อช่วยหายใจ
วิธีการปฏิบัติ
จัดท่าผู้ป่วยให้นอนตะแคงศีรษะต่ำเล็กน้อย
หยิบสายดูดเสมหะต่อกับเครื่องดูดเสมหะแล้ว
ให้ผู้ป่วยช่วยอ้าปาก
ดูดไม่ขึ้นหรือดูดไม่ออกให้หยุดทำการดูดเสมหะไว้ก่อน
การดูดเสมหะแต่ละครั้งไม่ควรนานเกิน 10 วินาที
ล้างสายดูดโดยการดูดผ่านน้ำเกลือใช้ภายนอก
เช็ดทำความสะอาดบริเวณที่มีน้ำเปียก
ถอดสายดูดเสมหะ
ช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
เพิ่มความสามารถในการขยาย
ตัวของทรวงอกและปอด
เพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด
ลดความต้องการปริมาณ
ออกซิเจนในร่างกาย
การผ่อนคลายความวิตกกังวล
การเก็บเสมหะส่งตรวจ
ให้ผู้ป่วยหายใจเข้าลึกๆ แล้วไอออกมา
ตรวจดูให้แน่ใจว่าเป็นเสมหะไม่ใช่น้ำลาย
ลักษณะของเสมหะ
เมือก
เหนียว
มีสีเหลือง
สีเขียว
สีแดงปน
ปิดฝาให้สนิท
ความปลอดภัยและกระบวนการพยาบาล
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
การติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
เยื่องบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคือง
เกิดการทำลายเนื้อเยื่อในปอด
เกิดอัตรายกับดวงตา
เกิดการหยุดหายใจ
อาจเกิดอุบุติเหตุจากไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติในการให้ออกซิเจน
ใส่ flow meter
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter
หมุนปุุมเปิด flow meter ปรับอัตราการไหล
กรณีให้ nasal cannula
ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้าง
สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง 2 ข้าง
กรณีให้ mask
ครอบหน้ากากบริเวณสันจมูก
เปิดออกซิเจนไหลผ่านถุง 10 -20 ลิตร/ นาที
กรณีให้ oxygen hood (oxygen box)
ต่อท่อออกซิเจนเข้ากับกล่อง
ครอบเฉพาะศีรษะและไหล่
กระบวนการพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ
การวินิจฉัยทางการพยาบาล
การวางแผนการพยาบาล
การปฏิบัติการพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วย
ปรับออกซิเจนให้ได้ 2 lit/ min
จัดสิ่งแวดล้อมให้มีความปลอดภัย
จัดท่านอนศีรษะสูง
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
วัด vital signs ทุก 4 ชม
ประเมิน O2 saturation ทุก 2 ชม.
ติดตามผลเลือด Hb, Hct และ Chest X-Ray
ดูแลส่งเสริมการพักผ่อนและการนอนหลับ
การประเมินผลการพยาบาล
ประเมินผลัพธ์การพยาบาล
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินคุณภาพการบริการ
เทคนิคการพยาบาล
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง
การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
ทำด้วยพลาสติกเบา
ให้ออกซิเจนผู้ป่วยที่มีท่อทางเดินหายใจ
การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม
คล้ายหน้ากากคล้องไว้กับคอ
การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
ครอบตัวผู้ป่วยลักษณะคล้ายเต็นท์
การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
เป็นท่อช่วยหายใจ
การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ
ครอบศีรษะและไหล่ผู้ป่วยเด็ก
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ
การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว
ข้อดี
ผู้ป่วยสามารถดื่มน้ำหรือรับประทานอาหารได้
ข้อเสีย
อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก
Simple mask
ความเข้มข้นร้อยละ 40-50
Reservoir bag
ความเข้มข้นสูงกว่าร้อยละ 60–90
Non rebreathing mask
ข้อเสีย
ไม่ควรให้ติดต่อกัน
ระบบให้ความชื้น
ชนิดละอองโต
ส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30 – 40 %
ชนิดละอองฝอย
ผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียว มักเห็นเป็นหมอก
แหล่งให้ออกซิเจน
ถังบรรจุออกซิเจน
อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของ
ก๊าซชนิดใช้กับก๊าซที่มีแรงดันสูง
ระบบท่อ
อุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของ
ก๊าซชนิดใช้กับก๊าซที่มีแรงดันต่ำ
ภาวะบ่งชี้
ภาวะบ่งชี้
โรคฟองแก๊สอุดตันในหลอดเลือดแดง
โรคคาร์บอนมอนน็อคไซด์เป็นพิษ
การติดเชื้อของเนื้อเยื่อจากแบคทีเรีย
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อเนื่องจากการถูกบดขยี้
โรคที่เกิดจากความดัน
โรคแผลเรื้อรัง
แผลเบาหวาน
แผลจากการกดทับ
แผลจากการไหลเวียนหลอดเลือดดำ
โลหิตจาง
การตายของเนื้อเยื่อ
การติดเชื้อเรื้อรังของเยื่อหุ้มกระดูก
การปลูกถ่ายผิวหนังและกล้ามเนื้อ
การได้รับบาดเจ็บจากรังสี
แผลไหม้จากความร้อน
โรคฝีในสมอง