Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จุดประสงค์ ทางการศึกษา, พฤติกรรมเป้าหมายต้องมีความชัดเจนเเละเฉพาะเจาะจง…
จุดประสงค์
ทางการศึกษา
เเนวคิดของ
จุดประสงค์
ทางการศึกษา
ไทเลอร์
เป็นการฝึกอบรมนักเรียนไปในทิศทาง
ที่จะช่วยสนองความต้องการที่พึงพอใจของเขา
เเฮวิคเฮอร์สท์
โรงเรียนมีความมุ่งหมายที่จะช่วยนักเรียน
ให้มีความเจริญงอกงามไปในทิศทางที่
เหมาะสมเเละพึงพอใจ
อาห์เรนส์
หน้าที่หลักของการศึกษา คือ การส่งเสริมและพัฒนาความเป็นประชาธิปไตยให้นักเรียนสามารถดำรงชีวิตในสังคมประชาธิปไตยต่อไปได้
จุดประสงค์ทางการศึกษาจะเน้นความต้องการของนักเรียนเป็นพื้นฐานสำคัญ
เป้าหมายของการศึกษาจึงเน้นที่
ตัวผู้เรียนมากกว่าตัวครูผู้สอน
การจัดการศึกษา
" หมายถึง กระบวนการวางเเผนเเละดำเนินการเพื่อพัฒนาพฤติกรรมของผู้เรียนให้เป็นตามเป้าหมายที่ที่พึงประสงค์เป็นหลัก "
การจำเเนกวัตถุประสงค์
ทางการศึกษา
หลักอนุกรมวิธาน
" หมายถึง การจำเเนกสิ่งของตามคุณลักษณะต่างๆ พร้อมทั้งมีการ
บ่งชี้ถึงความสำคัญของคุณลักษณะเหล่านั้นด้วย "
ช่วยให้ครูสามารถกำหนดวัตถุประสงค์ของการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการศึกษาตามวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ช่วยให้ครูสามารถจัดลำดับวัตถุประสงค์
ให้เหมาะสมกับการเรียนการสอน
ช่วยให้บรรลุตรงตามเป้าหมายของการศึกษา
การจำเเนกวัตถุประสงค์ตามหลักอนุกรมวิธาน มีลักษณะเป็นการจัดลำดับหรือชั้นต่างๆ ของการเรียนรู้จากระดับง่ายไปสู่ระดับที่ซับซ้อน
บลูมเเละคณะจำเเนกวัตถุประสงค์ทางการศึกษาเป็น 3 ปริเขต
ปริเขตด้านความรู้
หรือพุทธิพิสัย
คือ วัตถุประสงค์ทางการศึกษาเกี่ยวกับ
ความรู้ตามลำดับ, การพัฒนาความสามารถ
ทางสมองเเละทักษะ
1.1 ความรู้
เกี่ยวกับศัพท์เทคนิคหรือศัพท์เฉพาะ
เฉพาะเรื่อง
เกี่ยวกับข้อเท็จจริงเฉพาะ
เกี่ยวกับเเนวทางเเละวิธีการจัดการกับปัญหาเฉพาะ
เกี่ยวกับเเบบแผนนิยม
เกี่ยวกับเเนวโน้มเเละลำดับขั้นตอนตามเหตุเเละผล
เกี่ยวกับการจำเเนกเเละจัดประเภท
เกี่ยวกับเกณฑ์
เกี่ยวกับวิธีการ
เกี่ยวกับหลักการทั่วไปและความรู้
ที่เป็นนามธรรมในสาขาวิชา
เกี่ยวกับหลักการเเละข้อสรุปทั่วไป
เกี่ยวกับทฤษฏีเเละโครงสร้าง
1.2 ความเข้าใจ
การเเปลความ
การตีความ
การขยายความ
1.3 การนำไปใช้
การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
ให้เหมาะสมตามควรเเก่กรณี
1.4 การวิเคราะห์
การวิเคราะห์องค์ประกอบ
การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
การวิเคราะห์หลักการ
1.5 การสังเคราะห์
การสังเคราะห์ข้อความเพื่อสื่อความ
การสังเคราะห์เพื่อการวางเเผน
โครงการหรือแผนการดำเนินงาน
การสังเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงนามธรรม
1.6 การประเมินผล
การตัดสินคุณค่าโดยใช้เกณฑ์ภายใน
การตัดสินคุณค่าโดยใช้เกณฑ์ภายนอก
ปริเขตด้านคุณค่า
หรือจิตพิสัย
คือ วัตถุประสงค์ทางการศึกษาที่เกี่ยวกับ
การเปลี่ยนเเปลงทางด้านอารมณ์หรือ
การยอมรับคุณค่าต่างๆ หรือเกี่ยวกับ
การปรับตัวของคนในสังคม
2.1 การรับรู้หรือการตั้งใจรับรู้
การรู้ตัว
ความเต็มใจที่จะรับรู้
การบังคับหรือเลือกที่จะรับรู้
2.2 การตอบสนอง
การยอมรับที่จะตอบสนอง
ความเต็มใจในการตอบสนอง
ความพอใจในการตอบสนอง
2.3 การให้คุณค่า
การยอมรับในคุณค่า
ความพึงพอใจในคุณค่า
การทำตามคุณค่า
2.4 การจัดลำดับความคิด
การสร้างมโนทัศน์ในคุณค่า
การจัดระบบคุณค่า
2.5 การจำเเนกคุณลักษณะ
จากคุณค่าต่างๆ ที่ซับซ้อน
การสรุปคุณค่าออกเป็นเเต่ละชุด
การจำเเนกลักษณะเฉพาะออกจากกัน
ปริเขตด้านทักษะ
หรือทักษะพิสัย
คือ วัตถุประสงค์ทางการศึกษาที่เกี่ยวกับระบบการทำงานที่ต้องอาศัยพื้นฐาน
ทางกล้ามเนื้อหรือทักษะที่ใช้กลไก
ทางร่างกาย
3.1 การเคลื่อนไหวเชิงกิริยาสะท้อน
กิริยาสะท้อนที่สั่งจาก
ประสาทไขสันหลังส่วนหนึ่ง
กิริยาสะท้อนที่สั่งจาก
ประสาทไขสันหลังมากกว่า 1 ส่วน
กิริยาสะท้อนที่สั่งจาก
ประสาทไขสันหลังเเละสมองร่วมกัน
3.2 การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน
การเคลื่อนไหวจากที่หนึ่งไปอีกที่หนึ่ง
การเคลื่อนไหวอยู่กับที่
การเคลื่อนไหวเชิงบังคับ
โดยกิริยาสะท้อนหลายอย่างรวมกัน
3.3 ความสามารถในการรับรู้
การรับรู้ความเเตกต่างด้วยการ
เคลื่อนไหวของร่างกาย
การรับรู้ความเเตกต่างด้วยการเห็น
การรับรู้ความเเตกต่างด้วยการได้ยิน
การรับรู้ความเเตกต่างด้วยการสัมผัส
ความสามารถในการใช้ประสาทรับรู้ร่วมกัน
3.4 สมรรถภาพทางกาย
ความทนทาน
ความเเข็งเเรง
ความยืดหยุ่น
ความคล่องตัว
ในการเคลื่อนไหว
3.5 การเคลื่อนไหวที่ต้องอาศัยทักษะ
ทักษะการปรับตัวในการเคลื่อนไหวที่ทำได้ง่าย
ทักษะการปรับตัวในการเคลื่อนไหว
ที่ทำไปพร้อมๆ กัน
ทักษะการปรับตัวในการเคลื่อนไหว
ที่มีลักษณะซับซ้อนมาก
3.6 การสื่อสารที่ต้องใช้ทักษะระดับสูง
ในการเเสดงออก
การเคลื่อนไหวในเชิงเเสดงออก
การเคลื่อนไหวในเชิงตีความ
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม (Behavioral Objectives)
ความหมาย , คำจำกัดความ
" หมายถึง วัตถุประสงค์ของการเรียน
การสอนซึ่งกล่าวถึงพฤติกรรมที่นักเรียน สามารถเเสดงออกมาได้อย่างชัดเจนโดยสังเกตหรือวัดได้ "
เป็นจุดประสงค์ของการสอนที่กำหนดไว้ว่า
" หลังจากการเรียนการสอนเเล้ว ครูต้องการให้นักเรียนสามารถทำอะไรได้บ้าง ภายใต้เงื่อนไขหรือสถานการณ์อย่างไรเเละต้องทำได้มากน้อยเพียงใด "
สรุป : เป็นข้อความที่บอกถึงพฤติกรรมของผู้เรียนที่ต้องเเสดงออกให้สังเกตหรือวัดได้ ภายใต้เงื่อนไขหรือสถานการณ์ที่จะทำให้เกิดพฤติกรรมนั้นๆ รวมทั้งมีเกณฑ์ในการวัดที่เป็นที่ยอมรับว่าผู้เรียนได้
สัมฤทธิผลตามจุดมุ่งหมายที่กำหนดไว้
ความสำคัญ
นำไปใช้เป็นเเนวทางในการพัฒนาหลักสูตรเพื่อการเรียนการสอน
เป็นเเนวทางในการส้รางเเบสอบผลสัมฤทธิ์
เพื่อวัดเเละประเมินผลการเรียนรู้
ลักษณะเฉพาะ
ของวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
มีพฤติกรรมเป้าหมาย
1.1 พฤติกรรมนั้น
ต้องสังเกตหรือวัดได้
1.2 พฤติกรรมนั้นต้องเป็น
ไปตามเป้าหมายที่ต้องการ
'' หมายถึง ความสามารถเชิงปฏิบัติของนักเรียน
ที่คาดหวังไว้จากกระบวนการเรียนการสอน ''
เป็นพฤติกรรมที่ใช้ถ้อยคำเพื่อเเสดงการกระทำที่สังเกตได้
มีมาตรฐานของการปฏิบัติ
หรือเกณฑ์ที่ยอมรับ
" หมายถึง ระดับที่ผู้สอนมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้สัมฤทธิผลตามที่กำหนดไว้ "
มาตรฐานหรือเกณฑ์ของวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ควรเป็นเครื่องชี้ถึงคุณภาพของการปฏิบัติที่เเสดงออกมา
ข้อควรพิจาณาที่สำคัญของการกำหนด
มาตรฐานหรือเกณฑ์ของการวัด ก็คือ
" ต้องมีการพิจารณาถึงองค์ประกอบหลายประการ "
ผู้กำหนดวัตถุประสงค์ควรเป็นผู้ตัดสินจาก
องค์ประกอบที่สัมพัมธ์กับผลสัมฤทธิ์ของงานเป็นหลัก
มีการอธิบายเงื่อนไขหรือสถานการณ์
ต้องมีการอธิบายถึงขอบเขตของสถานการณ์หรือเงื่อนไขต่างๆ ที่ทำให้นักเรียนสามารถเเสดงพฤติกรรมเป้าหมายออกมาให้สังเกตได้
ภายใต้สถาการณ์ที่กำหนด
" ต้องมีการระบุถึงสถานการณ์
หรือเงื่อนไขที่จำเป็น "
3.1 รูปเเบบของข้อสอบ
จะมีผลต่อผู้สอบในหลายๆ สถานการณ์
รูปแบบของข้อสอบที่ใช้ต้องมีความชัดเจนเพื่อให้
ผู้สอบได้เเสดงพฤติกรรมตามสถานการณ์ที่ผู้สอนต้องการ
3.2 การจำกัดเวลาในการสอบ
การออกเเบบสอบหรือปฏิบัติงานที่กำหนดให้นั้น
ต้องทำให้เสร็จภายในเวลาที่จำกัด
" จึงต้องระบุเวลาที่เเน่นอนไว้ด้วย "
เป็นข้อมูลสำคัญของสถานการณ์หรือมาตรฐาน
ของการปฏิบัติ ซึ่งเป็นตัวเเปรสำคัญที่สัมพันธ์
กับคุณภาพของงานที่ทำได้
การจำกัดเวลาบางครั้งก็เป็นเงื่อนไข
ของการทำเเบบสอบด้วย
เวลาที่กำหนดให้มีความสัมพันธ์โดยตรง
กับงานที่กระทำได้ตามพฤติกรรมเป้าหมาย
3.3 เงื่อนไขอื่นๆ ที่จำเป็น
เพื่อให้มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ผู้เขียนวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ต้องมีการตรวจสอบอุปกรณ์หรือเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ต้องมีการจัดประเภทว่ามีเงื่อนไขใดบ้างที่สามารถ
อนุญาตได้และเงื่อนไขใดบ้างที่เป็นข้อจำกัด
หรือข้อห้ามในการสอบเเต่ละครั้ง
พฤติกรรมเป้าหมายต้องมีความชัดเจนเเละเฉพาะเจาะจง มีลักษณะสำคัญ 2 ประการ
สถานการณ์หรือเงื่อนไขของวัตถุประสงค์
เชิงพฤติกรรมเกี่ยวข้องกับ 3 สิ่งคือ
เช่น การอนุญาตให้นำอุปกรณ์บางอย่างเข้าห้องสอบ, ข้อห้ามหรือข้อจำกัดบางประการในการสอบ