Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
ความดันออกซิเจน ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ
การหมุนเวียนเพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การทำงานของเม็ดเลือดแดง มีหน้าที่ขนส่งก๊าซ เม็ดเลือดแดง มีหน้าที่หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียนมีอายุขัยประมาณ 120 วัน
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
ความเครียด ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับการหายใจถี่ขึ้นต้องการออกซิเจนมากขึ้น
อาหารที่มีไขมันมาก จะมีปริมาณออกซิเจนน้อยเวลารับประทานอาหารที่มีไขมันมากจะทำให้ปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำลง
การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนักๆขณะออกกำลังกาย ร่างกายต้องการออกซิเจนมากกว่าปกติอาจทำให้ได้รับออกซิเจนไม่ทั่วถึงและเพียงพอเป็นสาเหตุทำให้เหนื่อยเร็วและอ่อนล้า
ผู้สูงอายุ ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น ความเสื่อมเกิดขึ้นได้ทุกระบบในร่างกาย เช่น ระบบการหมุนเวียนเลือดและหัวใจ ทำให้ความสามารถในการรับออกซิเจนน้อยลง
อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลงการที่ร่างกายได้รับสารพิษจากอากาศ ทำให้ร่างกายต้องใช้ออกซิเจนเพิ่มขึ้นเพื่อใช้ในขบวนการขจัดสารพิษ
การสูบบุหรี่ มีผลเสียต่อร่างกายในหลาย ๆ
การเดินทางหรืออาศัยในที่สูงจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลงมีผลให้ออกซิเจนมีระดับต่ำกว่าปกติถ้าร่างกายปรับตัวไม่ได้กับภาวะพร่องออกซิเจนทำให้เกิดการภาวะพร่องออกซิเจน
การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์ การดื่มในปริมาณมากเกินควรจะส่งผลให้ร่างกายเกิดผลเสียแบบเฉียบพลับและเรื้อรัง
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas: ABG) เป็นการตรวจเพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของปอด
ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation) ใช้pulse oximeterr เป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจนต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
การประเมินสภาพร่างกาย ใช้เทคนิคการสังเกตและการประเมินสัญญาณชีพ
3) ระบบประสาทส่วนกลาง สังเกตและประเมินพบความรู้สึกตัวของผู้ป่วยเปลี่ยนแปลงกระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ
4) ระบบผิวหนัง ระยะแรกพบว่าผิวหนังผู้ป่วยเย็น ซีด
2) ระบบหัวใจและหลอดเลือด ประเมินพบ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ
5) ระบบทางเดินอาหาร ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้อาเจียนในระยะแรก
1) ระบบทางเดินหายใจ ระยะแรกของเซลล์พร่องออกซิเจนอย่างอ่อน สังเกตพบ ผู้ป่วยมีอาการหายใจไม่สะดวก หายใจลำบากเมื่อนอนราบ เมื่อหายใจเข้ามีเสียงดังและแสดงอาการหายใจหอบสังเกตจากปีกจมูกบาน
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia ตามมาหลังได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้นๆในการทำผ่าตัด
มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ปุวยที่ได้รับพิษจาก paraquat
ขณะทำผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจน
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ปุวยที่หายใจเอง
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรังโดยเฉพาะผู้ป่วยโรคถุงลมโป่งฟอง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ และระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำโดยวิธีการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในถุงลมปอด และกระแสเลือด
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก ระยะ
ต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
ความดันโลหิตลดลง
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
มีภาวะซีด
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
มีอาการเขียวคล้ำ
ระดับการมีสมาธิลดลง
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุ้ม
วิตกกังวล กระสับกระส่าย
อาการหายใจลำบาก
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
Hiccup การสะอึก
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
แนะนำให้หายใจเข้าออกในถุงปิดเพื่อเพิ่มก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพัก ๆ
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด
ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน เช่น แอมโมเนีย
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
สาเหตุของอาการสะอึก
การสะอึกต่อเนื่องหรืออาการสะอึกที่ควบคุมรักษายากมักเป็นอาการสะอึกที่เกิดจากพยาธิสภาพของโรคโดยโรคที่พบบ่อย เช่น โรคทางสมอง
อาการสะอึกเป็นอาการปกติทั่วไปไม่ได้เกิดจากโรคโดยมีสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย เช่นกินอิ่มมากเกินไป ดื่มเครื่องดื่มพวกที่ทำให้เกิดแก๊ส
Hemoptysis อาการไอเป็นเลือด
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
การอักเสบ ทำให้เกิดอาการไออย่างรุนแรงหรือมีแผลในคอ กล่องเสียง หลอดลมใหญ่และในเนื้อปอด
เนื้องอก และมะเร็ง
อุบัติเหต
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่าง ๆ ทำให้เกิดการไอเป็นเลือดได้
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิตเพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและความรุนแรงของการเสียเลือด
ถ้าเสียเลือดมาก อาจต้องให้เลือด
ให้ผู้ป่วยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด
ผู้ป่วยอาจตกใจมาก ทำให้มีอาการหายใจเร็วขึ้นพยาบาลต้องคอย
ปลอบโยน ให้กำลังใจ
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดปนออกมา คือ มีเสมหะและเลือดปนเป็นเนื้อเดียวกัน พบในโรคมะเร็งของหลอดลม หรือวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย มีเลือดเป็นสายปนกับเสมหะแต่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน พบในโรคหลอดลมอักเสบเฉียบพลันและเรื้อรัง หรือมะเร็งหลอดลม
ไอจนมีเลือดสดออกมา พบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม จากมีเลือดเก่าๆปนออกมาด้วยพบในวัณโรคปอด
Dyspnea อาการหายใจลำบาก
สาเหตุของการหายใจลำบาก
สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจ เช่น การทำงานของหัวใจไม่ดี
สาเหตุเกี่ยวกับประสาท ทำให้การควบคุมการหายใจไม่ดี เช่นโรคไขสันหลังอักเสบ
สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่นทางเดินหายใจอุดกั้นหรือปอดถูกทำลาย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ สำหรับช่วยเหลือผู้ป่วยฉุกเฉิน
ดูแลให้ผู้ป่วยนอนศีรษะสูงและให้ออกซิเจนร่วม
ดูแลให้ยาขยายหลอดลมหรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย
ฝึกให้ผู้ป่วยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
อาการไอ (Cough)
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้งๆไม่มีเสมหะ เช่นไอเนื่องจากมีฝุุ่นละอองมาก
ไอมีเสมหะซึ่งเสมหะที่เป็นหนองมักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
ประเมินประสิทธิภาพการไอ ลักษณะไอแห้งๆหรือไอแบบมีเสมหะโดยการฟังเสียงไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่ และระยะเวลาของการไอ
ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจำนวน ลักษณะ สีและกลิ่นของเสมหะ
ดูแลความสะอาดของปาก ฟัน และสิ่งแวดล้อม
กระตุ้นให้ดื่มน้ำอุ่นบ่อยๆและปริมาณมาก
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆเพื่อให้เสมหะที่ค้างในปอดเคลื่อนออกมาได้ง่าย
สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
สาเหตุของการไอ
ฝุุ่น ควัน สารเคมี อาหาร หรือน้ำที่สำลักเข้าไป
ความร้อน - เย็นของอากาศ จะทำให้การไอมากขึ้น
การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
Chest pain อาการเจ็บหน้าอก
สาเหตุ
3) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ
4) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหัวใจ
2) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
5) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากหลอดลมอักเสบ
1) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ
6) อาการเจ็บหน้าอก สาเหตุจากเส้นประสาท
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
สังเกตอาการ
ประเมินหาสาเหตุของอาการ
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ปุวย
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
1) ชนิดละอองโต (Bubble)ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30 – 40 % สายให้ก๊าซมีขนาดเล็ก น้ำจะปุดเป็นฟองเมื่อเปิดให้กับผู้ปุวย
2) ชนิดละอองฝอย (Jet)ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียว มักเห็นเป็นหมอก สายให้ออกซิเจนมักมีขนาดใหญ่และเป็นลูกฟูก
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
1) ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank) ก่อนใช้ออกซิเจนจากถังบรรจุออกซิเจนต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ(regulation of gas flow)เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของออกซิเจนออกจากแหล่งจัดเก็บออกซิเจน
2) ระบบท่อ (Oxygen pipeline) ก่อนใช้ออกซิเจนจากระบบท่อต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ (regulation of gas flow) เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของออกซิเจนออกจาก
แหล่งจัดเก็บออกซิเจนมาตามระบบท่อ
ระบบการให้ออกซิเจน
1) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ
การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula) หรือ nasal prongs เป็นการให้ออกซิเจนทางจมูก ข้อเสียอาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้างทำให้เยื่อบุจมูกบวมและมีน้ำมูกออกมาอุดทำให้ท่อตันได้ จึงควรทำความสะอาดท่อและรูจมูกทุก 8 ชั่วโมงและปรับสายรัดรอบศีรษะของผู้ป่วยให้พอเหมาะปรับอัตราไหลของออกซิเจนและเฝ้าระวังการเกิดแผลกดทับบริเวณใบหูที่กดกับสายยาง
การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
Reservoir bag (partial rebreathing mask
ออกซิเจนจากเครื่องจะไหลเข้าถุงการหายใจครั้งแรกจะเป็นออกซิเจนบริสุทธิ์เมื่อหายใจออกคาร์บอนไดออกไซด์จะไหลกลับเข้าในถุงประมาณ 1/ 3 ของความจุของถุงไปผสมรวมกับออกซิเจนในถุงเมื่อการหายใจเข้าในครั้งต่อไปจะทำให้ได้ออกซิเจนผสมกับคาร์บอนไดออกไซด์และออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายส่วนคาร์บอนไดออกไซด์ที่เหลือจะขับออกทางรูด้านข้างของmask
Non rebreathing mask ลักษณะคล้าย partial rebreathing ยกเว้นรูระบายอากาศส่วนหน้ากากลักษณะเป็นลิ้นไหลทางเดียวทั้ง 2 ข้างเพื่อให้อากาศไหลออกสู่ภายนอกอย่างเดียวไหลเข้าไม่ได้
Simple mask เป็นชนิดที่ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 40-50 การปรับอัตราไหลของออกซิเจน 5 – 8 ลิตร/ นาที
2) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง
3.การให้ออกซิเจนชนิด croupette tentเป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนที่ครอบตัวผู้ป่วยลักษณะคล้ายเต็นท์
4.การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box เป็นอุปกรณ์ใช้ครอบศีรษะและไหล่ผู้ป่วยเด็ก
2.การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)เป็นอุปกรณ์คล้ายหน้ากากคล้องไว้กับคอครอบบนท่อเจาะหลอดลมคอออกซิเจนจะไหลเข้าทางรูเปิดขณะหายใจเข้ามีcorrugated tubeเพื่อให้ได้ความชื้นแบบละอองฝอย(jet nebulizer)ออกซิเจนที่ได้จะไม่แห้ง
5.การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET) เป็นท่อช่วยหายใจซึ่งแพทย์จะใส่ท่อนี้เข้าไปในหลอดลมของผู้ปุวยแล้วต่อเข้ากับเครื่องช่วยหายใจ (respirator) ใช้ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถหายใจได้ด้วยตนเอง
1.การให้ออกซิเจนชนิดT- piece เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนผู้ป่วยที่มีท่อทางเดินหายใจ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การบริหารการหายใจ
2) การหายใจโดยการห่อปากการหายใจวิธีนี้จะช่วยลดการคั่งของอากาศในถุงลมโดยการรักษาความดันบวกในการหายใจทำให้หลอดลมขยายตัวนานกว่าปกติช่วยให้อากาศออกจากถุงลมปอดได้มากขึ้น
3) การหายใจเข้าลึกๆ การหายใจเข้าลึกๆช่วยขยายหลอดลมกระตุ้นการสร้างสารเคลือบภายในปอดและช่วยขยายพื้นที่การแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอด
1) การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลมสามารถทำได้ในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติของการหายใจเรื้อรังและเฉียบพลัน
การดูดเสมหะ (suction)
การส่งเสริมการได้รับออกซิเจนให้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด
การผ่อนคลายความวิตกกังวล
การช่วยทำให้ทางเดินหายใจโล่ง
วิธีการดูดเสมหะ
การดูดเสมหะทางจมูก (Nasopharygeal) หรือปาก (oropharyngeal suction)
การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ(Endotracheal) หรือทางท่อหลอดคอ(tracheostomy suction)
อาการแทรกซ้อน
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
เกิดการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจในขณะดูดเสมหะ
แรงกด หรือการระคายเคืองบริเวณรูจมูกและริมฝีปากอาจทำให้เกิดแผลหรือเกิดแผลจากการดูดเสมหะหลาย ๆ ครั้ง
อาจเกิดการสำลักจากการกระตุ้น gag reflex หรือจัดท่าผู้ป่วยไม่ถูกต้อง
ริมฝีปากแห้งเกิดเป็นแผลได้ง่าย
อาจเกิดความผิดปกติในผู้ป่วยโรคหัวใจ โรคความดันโลหิตสูง และเกิดภาวะความดันในสมองสูง
การจัดท่าผู้ป่วย ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่ำควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูงในท่านี้จะช่วยให้หายใจสะดวกขึ้นโดยกระบังลมจะหย่อนลงทำให้ปอดขยายตัวเต็มที่และมีปริมาณอากาศเพิ่มมากขึ้น ผู้ป่วยที่หายใจลำบากทำให้นอนราบไม่ได้ ควรจัดท่า orthopnea position เป็นท่าศีรษะสูงต้องอยู่ในท่านั่งหรือฟุบหลับบนเก้าอี้ท่านี้จะช่วยทำให้ช่องอกขยายและทำให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายขณะพักและนอนหลับได้
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
อาจเกิดการท าลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา
อาจท าให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได
อาจเกิดการหยุดหายใจ
อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)
ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
ประเมินผลคุณภาพการบริการ
ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)