Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ, 1399199184-Antibiotic-o, unnamed…
บทที่ 8 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ ( Respiratory drugs )
โรคหลอดลมอักเสบ ( Acute Bronchitis)
สาเหตุอาจเกิดจากหลายปัจจัย เช่น กรรมพันธุ์ ระบบภูมิคุ้มกันของ
ร่างกาย การติดเชื้อ สิ่งแวดล้อม
ทำให้เกิดอาการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ทำให้หลอดลมมีความไวต่อ
สิ่งเร้าต่างๆได้มากกว่าคนปกติ
โรคที่เกิดจากการหดตัวหรือตีบแคบของระบบทางเดินหายใจเป็น
ครั้งคราว ทำให้ผู้ป่วยมีอาการหายใจหอบเหนื่อย เป็นๆ หายๆ เรื้อรัง
1.ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
1.1 ยากลุ่มกระตุ้นตัวรับชนิดเบต้า-2 (beta-2 agonists)
a.กลุ่มยาที่มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์สั้น
(short-acting)
b.กลุ่มยาที่มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์นาน (long-acting)
1.2 ยากลุ่มเมทิลแซนธีน (Methylxanthines)
1.3 ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้านโคลิเนอร์จิก
(Anticholinergic drugs or Muscarinic antagonists)
ยาต้านการอักเสบ
(Anti-inflammatory drugs)
2.1 ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์(Corticosteroids)
2.2 ยากลุ่มยับยั้งการหลั่งสารสื่อจากเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับ
กระบวนการอักเสบ
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ( COPD)
คือโรคที่เกิดจากความผิดปกติของปอด ซึ่งเป็นกลุ่มหนึ่งของโรคปอด
อักเสบเรื้อรัง
อาการไอ
-ไอแบบไม่มีเสมหะ (dry or nonproductive cough) มีลักษณะเป็นการไอ
แห้งๆ ไอถี่ๆ แต่ไม่มีเสมหะออกมา
-การไอแบบมีเสมหะ (productive cough) การไอแบบนี้มีประโยชน์ในการ
ช่วยขับสิ่งแปลกปลอมหรือสารคัดหลั่งต่างๆ ออกจากทางเดินหายใจ
ยาแก้ไอจึงแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
1 ยาระงับไอ หรือยากดการไอ (Anti-tussives or Cough Suppressants)
1.1 ยาระงับไอชนิดเสพติด (Narcotic Antitussives)
1.2 ยาระงับไอชนิดไม่เสพติด (Non-narcotic Antitussives)
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics)
ยาขับเสมหะ (Expectorants)
ยาแก้แพ้หรือยาต้านฮิสตามิน
เป็นกลุ่มยาที่มีโครงสร้างคล้ายสารฮิสตามีน (Histamine) ที่เมื่อรับประทานยาเข้าไปแล้ว ยาจะเข้าไปจับกับตัวจับกับตัวรับของสารฮิสตามีน (Histamine receptor)
กลุ่มที่ 1 ยา แอนติฮิสตามีน กลุ่มง่วง
ผ่านเข้าออกสมองได้ดี จึงสามารถจับกับตัวรับฮิสตามีนในสมองได้ มีผลกดระบบประสาท ทำให้เกิดอาการ ง่วงซึม ไม่สดชื่น
กลุ่มที่ 2 ยาแอนติฮิสตามีน กลุ่มไม่ง่วง
ยาไม่ผ่านเข้าสมองจึงไม่กดระบบประสาท ทำให้ไม่ค่อยมีผลง่วงซึม
• ยาออกฤทธิ์ยาวนานกว่า 12 ชั่วโมงจนถึงหลายวัน
โรคภูมิแพ้
โรคภูมิแพ้มีหลายประเภทขึ้นอยู่กับว่ากระบวนการแพ้ไปเกิดที่อวัยวะ
ส่วนไหน
ถ้าเกิดที่จมูก จะท าให้มีอาการน้ำมูกไหล จาม คัดแน่นจมูก เป็นหวัด
ภูมิแพ้
Autocoids drugs
Antihistamines ( Antagonists )
Antihistamines act by blocking histamine
receptors
There are four histamine receptors designatedas H1,H2,H3 and H4 each with differentfunction
ยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันโรค
( Immunomodulation drugs )
Immunomodulatory drugs represent a new class of
antineoplastic drugs with anti-inflammatory
Generations
• First generation - Thalidomide
• Second generation - Lenalidomide and pomalidomide
• Third generation - Apremilast
Thalidomide
Thalidomide ใช้รักษามะเร็งได้หลายชนิด เช่น melanoma,
multiple myeloma, renal cell และมะเร็งรังไข
Lenalidomide
ยา Lenalidomide เป็นยาที่ปรับเปลี่ยนภูมิคุ้มกันตัวใหม่ โดยไม่ต้องใช้วิธี
รักษาด้วยคีโมบำบัด
ยารักษาโรคมะเร็งซึ่งมีสรรพคุณการรักษาคล้ายคลึง
กับยา thalidomide
Apremilast
Phosphodiesterase 4 (PDE4) เป็นเอนไซม์ที่อยู่ภายในเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการอักเสบหลายชนิด เช่น eosinophils, neutrophils, macrophages, T cells และmonocytes นอกจากนี้ยังพบในเซลล์กล้ามเนื้อเรียบ เซลล์บุหลอดเลือด และเซลล์คีราติโนไซต์ของหนังกำพร้า
ยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันโรค (Immunomodulation
drugs)
ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressants
ได้แก่ เพร็ดนิโซโลน (Prednisolone), เมโธเทรกเซท(Methotrexate), เอซาไธโอพรีน (Azathioprine), ไซโคลฟอสฟาไมด์(Cyclophosphamide) และ ไซโคลสปอริน (Cyclosporin)
โรค Auto immune
• ออโตอิมมูน (Autoimmune)” หมายถึงการที่ภูมิคุ้มกันร่างกายเข้าทำ
ร้ายเนื้อเยื่อร่างกายของตัวเอง
• พบว่าเซลล์เม็ดเลือดขาวของคนที่เป็นโรคออโตอิมมูน/โรคภูมิต้าน
เพร็ดนิโซโลน (Prednisolone)
• เพรดนิโซโลน (Prednisolone)จัดเป็นสารสังเคราะห์กลุ่ม Glucocorticoid นำมาใช้ทางการแพทย์โดยมีวัตถุประสงค์ต้านการอักเสบ
• ผลข้างเคียงเหล่านี้เช่น อ้วน น้ าหนักเพิ่ม ความอยากอาหารเพิ่มขึ้น บวม หน้ากลมเป็นสิว ผิวแตกลาย
• ระคายกระเพาะอาหารและอาจท าให้เกิดแผลในกระเพาะอาหารได้
เมโธเทรกเซท (Methotrexate)
• methotrexate เป็นยาเคมีบ าบัดชนิดหนึ่ง ออกฤทธิ์ยับยั้งการแบ่งตัวของเซลล์ร่างกาย
• รับประทานยาตามแพทย์สั่งอย่างเคร่งครัด โดยปกติแพทย์จะสั่งให้รับประทานยาสัปดาห์ละ 1 ครั้ง การรับประทานยาทุกวันจะเป็นการได้รับยาเกินขนาด เป็นพิษต่อตับ
• ห้ามดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากท าให้เพิ่มพิษต่อตับได้
เอซาไธโอพรีน (Azathioprine)
• Azathioprine เป็นยา immunosuppressants มีฤทธิ์กดการท างานของภูมิคุ้มกันมีข้อบ่งใช้ร่วมกับยาอื่น
• เป็นยาที่ใช้ในการรักษาโรคตุ่มน้ำพอง โรคเอสแอลอี นอกเหนือจากฤทธิ์กดภูมิคุ้มกันแล้ว
ไซโคลสปอริน (Cyclosporin)
• ยาไซโคลสปอรินนำมาใช้กดภูมิคุ้มกันฯในการปลูกถ่ายอวัยวะ
• ห้ามรับประมานยากับผลไม้ Grapefruit เนื่องจากทำให้ระดับยาในเลือด
สูงขึ้นและอาจเป็นพิษได้
• ผลข้างเคียงที่สำคัญ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง และเป็นพิษต่อไต
ไซโคลฟอสฟาไมด์(Cyclophosphamild)
• ยาซัยโคลฟอสฟาไมด์เป็นยาที่อยู่ในกลุ่ม Alkylating agents กระบวนการออกฤทธิ์เพื่อต้านมะเร็งของยาซัยโคลฟอสฟาไมด
• ส่วนในการรักษาโรคออโตอิมมูน/โรคภูมิต้านตนเอง ตัวยาซัยโคลฟอสฟาไมด์จะออกฤทธิ
• เป็นยาที่ใช้ในการรักษาโรคตุ่มน้ำพอง มีผลข้างเคียงที่ส าคัญ คือ ทำให้เกิดภาวะกระเพาะปัสสาวะอักเสบแบบมีเลือดออกได้ (Hemorrhagic cystitis)
โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
โรคหวัด ( Acute Rhinopharyngitis;common cold)
โรคไข้หวัดใหญ่ ( Influenza)
คออักเสบ ( Acute pharyngitis)
โรคปอดอักเสบ (Pneumonia)
โรคหลอดลมอักเสบ ( Acute Bronchitis)