Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
บทที่ 7การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
การทeงานของเม็ดเลือดแดงมีหน้าที่ขนส่งก๊าซเม็ดเลือดแดงเป็นเซลล์เม็ดเลือดชนิดหนึ่ง มีหน้าที่หลักในการขนและส่งก๊าซในระบบหมุนเวียน มีอายุขัยประมาณ 120 วัน
ความดันออกซิเจนและการขนส่งสู่เนื้อเยื่อหลังจากเลือดที่ออกจากปอดมีความดันออกซิเจนในเลือดสูงอยู่ เม็ดเลือดแดงจะปล่อยออกซิเจนจeนวนน้อยสู่กระแสเลือดเพื่อส่งไปหาเซลล์ต่างๆ
การหมุนเวียนเพื่อกeจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เมื่อเซลล์เนื้อเยื่อขับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ออกออก จะมีการขนส่งก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ กลับไปที่ปอด เพื่อทeการหายใจระบายออก
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การจัดท่าผู้ป่วย ผู้ปุวยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่ า (hypoxia) ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง (high fowler’s position)
การบริหารการหายใจวิธีการหายใจจะช่วยให้การระบายอากาศหายใจดีขึ้น มีประโยชน์ทั้งในผู้ปุวยที่มีปัญหาการหายใจชนิดปอดถูกก าจัด
1) การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม (diaphragmatic breathing)สามารถท าได้ในผู้ปุวยที่มีความผิดปกติของการหายใจเรื้อรังและเฉียบพลัน
2) การหายใจโดยการห่อปาก (pursed -lip breathing)การหายใจวิธีนี้จะช่วยลดการคั่งของอากาศในถุงลม โดยการรักษาความดันบวกในการหายใจ ท าให้หลอดลมขยายตัวนานกว่าปกติ ช่วยให้อากาศออกจากถุงลมปอดได้มากขึ้น
3)การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing) การหายใจเข้าลึกๆ ช่วยขยายหลอดลมกระตุ้นการสร้างสารเคลือบภายในปอด และช่วยขยายพื้นที่การแลกเปลี่ยนออกซิเจนที่ปอด
การดูดเสมหะ(suction)
การช่วยท าให้ทางเดินหายใจโล่ง ปฏิบัติดังนี้1.1 ท าการดูดเสมหะออก1.2 จัดท่านอนให้เหมาะสมกระตุ้นให้เปลี่ยนท่านอนบ่อยๆ1.3 กระตุ้นให้ไอบ่อยๆ และให้ดื่มน้ ามากๆให้เสมหะอ่อนตัวไอออกได้ง่าย1.4 การท าpostural drainage เป็นการจัดท่าเพื่อช่วยระบายเสมหะที่ค้างอยู่
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอดปฏิบัติดังนี้2.1จัดท่านอนศีรษะสูง2.2กระตุ้นให้ผู้ปุวยหายใจลึกๆ บ่อยๆ2.3จัดให้มีการออกก าลังกายตามความสามารถของผู้ปุวย2.4ปูองกันอาการท้องอืดที่อาจเกิดขึ้น โดยให้อาหารที่ย่อยง่ายครั้งละน้อยๆ แต่บ่อยครั้งและงดอาหารที่ท าให้เกิดก๊าซง่าย2.5 ใส่เสื้อผ้าที่สวมสบายให้แก่ผู้ปุวย
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด โดยอาจมีการให้ออกซิเจน อาจให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula)หรือทางหน้ากาก(oxygen mask) หรือทางเต้นท์ (oxygen tents)
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย เมื่อการเผาผลาญสารอาหารภายในเซลล์มากขึ้นร่างกายจะต้องการออกซิเจนมากขึ้นเพื่อใช้ในการเผาผลาญสารอาหาร
การผ่อนคลายความวิตกกังวลโดยแนะน าการท าสมาธิ หรือการนอนใส่หูฟัง ให้ฟังเพลงเป็นต้น
ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
1.การเดินทางหรืออาศัยในที่สูงภาวะดังกล่าวจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลง มีผลให้ออกซิเจนมีระดับต่ำกว่าปกติ ทำให้ร่างกายได้ออกซิเจนน้อยกว่าปกติ
2.อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง ภาวะดังกล่าวท าให้อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลง การที่ร่างกายได้รับสารพิษจากอากาศ
3.การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ ขณะออกกำลังกาย ร่างกายต้องการออกซิเจนมากกว่าปกติอาจทำให้ได้รับออกซิเจนไม่ทั่วถึงและเพียงพอ
4.ความเครียด ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ การหายใจถี่ขึ้น ต้องการออกซิเจนมากขึ้น
5.อาหารที่มีไขมันมาก จะมีปริมาณออกซิเจนน้อย เวลารับประทานอาหารที่มีไขมันมากจะทำให้ปริมาณออกซิเจนในเลือดต่ำลง
6.ผู้สูงอายุ ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น ความเสื่อมเกิดขึ้นได้ทุกระบบในร่างกาย
7.การสูบบุหรี่ มีผลเสียต่อร่างกายในหลาย ๆ ระบบ เช่น กล่องเสียง หลอดเลือดในสมอง ถุงลม และปอดทำให้ความสามารถในการรับออกซิเจนน้อยลง
8.การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์ การดื่มในปริมาณมากเกินควรจะส่งผลให้ร่างกายเกิดผลเสียแบบเฉียบพลับและเรื้อรัง ซึ่งส่งผลต่อตับ สมอง หรือหัวใจและหลอดเลือด เป็นต้น
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
การประเมินสภาพร่างกาย
1) ระบบทางเดินหายใจระยะแรกของเซลล์พร่องออกซิเจนอย่างอ่อนสังเกตพบผู้ปุวยมีอาการหายใจไม่สะดวกหายใจล าบากเมื่อนอนราบ (Orthopnea)ต้องนั่งหายใจหลังจากนอนหลับไปแล้วระยะหนึ่งต้องลุกขึ้นมานั่งหายใจ
2) ระบบหัวใจและหลอดเลือด ประเมินพบ ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ ความดันโลหิตเพิ่มขึ้นในระยะแรก เพื่อปรับชดเชย ระยะต่อมาหัวใจเต้นผิดจังหวะ
3) ระบบประสาทส่วนกลาง สังเกตและประเมินพบ ความรู้สึกตัวของผู้ปุวยเปลี่ยนแปลง กระสับกระส่าย สับสน มึนศีรษะ ปวดศีรษะ
4) ระบบผิวหนัง ระยะแรกพบว่า ผิวหนังผู้ปุวยเย็น ซีดเพราะร่างกายจะตอบสนองต่อภาวะพร่องออกซิเจน โดยหลอดเลือดที่ไปเลี้ยงอวัยวะส าคัญ
5) ระบบทางเดินอาหาร ประเมินและสังเกตพบมีอาการคลื่นไส้อาเจียนในระยะแรก
การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1)ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas: ABG)เป็นการตรวจเพื่อหาประสิทธิภาพการทำงานของปอด เพื่อประเมินความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซ และการหายใจ
2)ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation) ใช้pulseoximeterเป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน(oxyhemoglobin)ต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือดการแปลผลต้องพิจารณาปริมาณเม็ดเลือดแดงและหรือค่าฮีโมโกลบินร่วมด้วยจึงเป็นการวัด arterial oxygen saturation (SPO2)ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือดปกติอยู่ระหว่าง98-99%หากวัด SPO2ได้น้อยกว่า 90% จ าเป็นต้องได้รับการรักษา
3)การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb)ในเลือดค่าฮีโมโกลบินปกติในผู้หญิง11.5–16.5gm% (กรัมเปอร์เซนต์)และในผู้ชาย 13.0-18 gm% (กรัมเปอร์เซนต์)
สาเหตุและการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
อาการไอ (Cough)
สาเหตุของการไอ1.การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจมีอาการไอน้อยกว่า 2 สัปดาห์ อาจเกิดจากไข้หวัด การติดเชื้อของทางเดินหายใจส่วนบนและส่วนล่าง และถ้าไอมากกว่า 2 สัปดาห์ อาจเกิดจากหลอดลมอักเสบ จมูกและไซนัสอักเสบเรื้อรัง หอบหืด หลอดลมอักเสบเรื้อรัง ปอดอักเสบเรื้อรังจากการติดเชื้อ หรือมะเร็งหลอดลม2. ฝุุน ควัน สารเคมี อาหารหรือน้ าที่ส าลักเข้าไป3. ความร้อน -เย็นของอากาศจะท าให้การไอมากขึ้น
ลักษณะของอาการไอ1. ไอแห้งๆ ไม่มีเสมหะเช่น ไอเนื่องจากมีฝุุนละอองมากเป็นต้น2. ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนองมักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ เช่นโรคปอดบวม และวัณโรคปอด เป็นต้น และเสมหะที่ไม่เป็นหนอง เช่นโรคหอบหืดเป็นต้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอ
1.ประเมินประสิทธิภาพการไอลักษณะไอแห้งๆ หรือไอแบบมีเสมหะโดยการฟังเสียงไอ
สังเกตและบันทึกลักษณะ เสียง ความถี่และระยะเวลาของการไอ 3. ถ้าไอมีเสมหะให้สังเกต บันทึกจ านวน ลักษณะ สีและกลิ่นของเสมหะด้วย
4.ดูแลความสะอาดของปากฟันและสิ่งแวดล้อม เพื่อช่วยกระตุ้นความอยากอาหาร5.กระตุ้นให้ดื่มน้ าอุ่นบ่อยๆ และปริมาณมากเพื่อให้เสมหะอ่อนตัว
กระตุ้นให้เปลี่ยนอิริยาบถบ่อยๆ เพื่อให้เสมหะที่ค้างในปอดเคลื่อนออกมาได้ง่ายจากการเปลี่ยนท่าหรืออิริยาบถ7. สอนการไออย่างมีประสิทธิภาพ (effective cough) โดยการให้ผู้ปุวยนั่งหรือนอนยกศีรษะสูง(Fowler’s position) และหายใจเข้าลึกๆเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง กลั้นหายใจสักครู่
ดูแลให้ยาเพื่อช่วยบรรเทาอาการไอตามแผนการรักษาของแพทย์
Hemoptysisอาการไอเป็นเลือด
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดสดออกมาพบในวัณโรคปอด2. ไอจนมีเลือดปนออกมาคือ มีเสมหะและเลือดปนเป็นเนื้อเดียวกัน พบในโรคมะเร็งของหลอดลมหรือวัณโรคปอด
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย มีเลือดเป็นสายปนกับเสมหะแต่ไม่เป็นเนื้อเดียวกัน พบในโรคหลอดลมอักเสบเฉียบพลันและเรื้อรัง หรือมะเร็งหลอดลม4. ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม จากมีเลือดเก่าๆ ปนออกมาด้วย พบในวัณโรคปอด
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
1.อุบัติเหตุ2.การอักเสบ ทำให้เกิดอาการไออย่างรุนแรง หรือมีแผลในคอ กล่องเสียง หลอดลมใหญ่และในเนื้อปอด
3.เนื้องอก และมะเร็ง4. ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่างๆ ท าให้เกิดการไอเป็นเลือดได้ เช่น หลอดเลือดที่เลี้ยงปอดอุดตัน วัณโรค และปอดบวม เป็นต้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการไอเป็นเลือด
1.ให้ผู้ปุวยพักผ่อนและให้การหายใจเคลื่อนไหวน้อยที่สุด 2. ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิตเพื่อประเมินอาการเปลี่ยนแปลงและความรุนแรงของการเสียเลือด
ถ้าเสียเลือดมากอาจต้องให้เลือด และพยาบาลจะต้องเฝูาระวังการแพ้เลือดที่อาจเกิดขึ้นได้4. ผู้ปุวยอาจตกใจมาก ท าให้มีอาการหายใจเร็วขึ้น (hyperventilation) พยาบาลต้องคอยปลอบโยน ให้ก าลังใจ และให้การดูแลจนผู้ปุวยควบคุมตนเองได้
Hiccup
สาเหตุของอาการสะอึกโดยทั่วไปอาการสะอึกเป็นอาการปกติทั่วไป ไม่ได้เกิดจากโรคโดยมีสาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย เช่นกินอิ่มมากเกินไปดื่มเครื่องดื่มพวกที่ท าให้เกิดแก๊ส (Carbonate)ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูบบุหรี่จัด
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการสะอึก
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน เช่น แอมโมเนียเป็นต้น2. ให้ชิมของเปรี้ยวจัด เช่นน้ ามะนาวเป็นต้น หรือดื่มน้ าเปล่า3. แนะน าให้หายใจเข้าออกในถุงปิด เพื่อเพิ่มก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
แนะนำให้กลั้นหายใจเป็นพักๆ5. ใช้เทคนิคเบี่ยงเบนความสนใจ เช่น ชวนคุยในเรื่องที่สนุกตื่นเต้น เป็นต้น6. ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม เช่น ถือแก้วน้ าแล้วหลุดออกจากมือขณะสะอึก หรือขณะรับประทานอาหารอาจส าลักได้ เป็นต้น
Dyspnea
สาเหตุของการหายใจลำบาก
1.สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น ทางเดินหายใจอุดกั้น หรือปอดถูกท าลายเป็นต้น2.สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจเช่นการท างานของหัวใจไม่ดีเนื่องจากกล้ามเนื้อบางส่วนของหัวใจ
3.สาเหตุเกี่ยวกับประสาท ท าให้การควบคุมการหายใจไม่ดี เช่น โรคไขสันหลังอักเสบ ผู้ปุวยที่หายใจล าบากอาจมีเสียง wheeze ร่วมด้วย
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
ดูแลให้ผู้ปุวยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย2. ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ และประเมินสัญญาณชีพตามความเหมาะสม ทุก 1-2 ชั่วโมง3. เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ ส าหรับช่วยเหลือผู้ปุวยฉุกเฉิน เช่นการใส่ท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET)เป็นต้น
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา5. ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer)เพื่อให้หายใจสะดวก6. ฝึกให้ผู้ปุวยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อลดอาการหายใจล าบากโดยหายใจด้วยกล้ามเนื้อกระบังลม
Chest pain
1) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ มักมีอาการเจ็บเฉพาะที่และเจ็บเมื่อใช้มือกดที่บริเวณนั้น2) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ มักเจ็บตรงบริเวณที่มีอาการอักเสบและมักเจ็บมากเมื่อเวลาหายใจเข้าลึกๆ
3) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ และเจ็บตลอดเวลา อาจมีลักษณะในข้อ2 ร่วมด้วย ถ้าการอักเสบลุกลามถึงเยื่อหุ้มปอด4) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากหัวใจเช่นภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารี (coronary
5) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากหลอดลมอักเสบ มักมีอาการแน่นหน้าอกบริเวณหลังกระดูกอาจเจ็บตลอดเวลาและเจ็บมากเมื่อเวลาไอ6) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากเส้นประสาทเช่นโรครากประสาทสันหลัง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
1.สังเกตอาการ ถ้าผู้ปุวยมีอาการเจ็บปวดที่เยื่อหุ้มปอด ควรแนะน าให้นอนตะแคงทับด้านที่เป็น ถ้าอาการไม่ดีขึ้น อาจต้องให้ยาแก้ปวดตามแผนการรักษา2.ประเมินหาสาเหตุของอาการว่า อาการเจ็บหน้าอกเกิดจากหัวใจหรือ ปอด ถ้าเป็นอาการเจ็บหน้าอกจากหัวใจ เช่น กล้ามเนื้อหัวใจตาย(myocardial infarction) จะมีอันตรายกว่าการเจ็บหน้าอกจากระบบหายใจมาก3. จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ปุวยสรุป อาการผิดปกติที่พบบ่อยในระบบทางเดินหายใจพบได้บ่อยที่สุด ได้แก่อาการไอ อาการสะอึก
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล (anxiety) กระสับกระส่าย(restlessness)2. ระดับการมีสมาธิลดลง(decreased ability to concentrate)3. ระดับความรู้สึกตัวลดลง(decreased level of consciousness)
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น(increased fatigue)5. มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน (vertigo)6. แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป (behavior changes)
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น (increase pulse rate) ขั้นรุนแรง และพบ bradycardia8. ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก (increase rate and depth respiration) ระยะต่อมาจะเปลี่ยนเป็นหายใจสั้นและตื้น (shallow and slow respiration)9. ความดันโลหิตลดลง (blood pressure will decrease)10. หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ (cardiac dysthymias)11. มีภาวะซีด (pallor)12. มีอาการเขียวคล้ า (cyanosis)13. กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุูม (clubbing)14. อาการหายใจล าบาก (dyspnea)
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนท าให้ออกซิเจนในเลือดต่ า โดยวิธีการเพิ่มปริมาณออกซิเจนในถุงลมปอด และกระแสเลือด2. เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ปุวยโรคถุงลมโปุงฟอง3. เป็นการช่วยการท างานของระบบทางเดินหายใจหัวใจและระบบการไหลเวียนโลหิตและหลอดเลือดจากภาวะพร่องออกซิเจน
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
1.มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด คือ มีภาวะPaO2< 60 mmHg หรือ SaO2< 90% เมื่อหายใจเข้าในบรรยากาศปกติ 2. เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia ตามมาหลังได้รับการรักษาเบื้องต้นแล้ว เช่น ผู้ปุวยหลังโดนไฟไหม้เป็นต้น3. เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง(severe trauma)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน(acute myocardial infarction: MI)5. การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ ในการท าผ่าตัด เช่น หลังการดมยาสลบ หรือการท าผ่าตัดใหญ่เป็นต้น
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่างๆ
ระบบการให้ออกซิเจน
1) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ า (Low flow system)
(1) การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula)หรือnasal prongs เป็นการให้ออกซิเจนทางจมูก วิธีนี้ผู้ปุวยจะได้รับออกซิเจนที่มีความเข้มข้นต่ า ซึ่งจะได้ออกซิเจนร้อยละ30 –40ในขณะที่ปรับอัตราการไหลของออกซิเจน4 –6 ลิตร/นาที
(2) การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
(2.1) Simple maskเป็นชนิดที่ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 40-50การปรับอัตราไหลของออกซิเจน5 –8 ลิตร/นาที
(2.2) Reservoir bag (partial rebreathing mask)ให้ความเข้มข้นสูงกว่าร้อยละ60–90 ซึ่งสูงกว่าชนิดไม่มีถุงชนิดนี้ออกซิเจนจากเครื่องจะไหลเข้าถุงการหายใจครั้งแรกจะเป็นออกซิเจนบริสุทธิ์
(2.3) Non rebreathing maskลักษณะคล้าย partial rebreathing ยกเว้นรูระบายอากาศส่วนหน้ากากลักษณะเป็นลิ้นไหลทางเดียว (unidirectional valve) ทั้ง2 ข้าง เพื่อให้อากาศไหลออกสู่ภายนอกอย่างเดียวไหลเข้าไม่ได้
2) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
(1)การให้ออกซิเจนชนิดT-pieceเป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนผู้ปุวยที่มีท่อทางเดินหายใจท าด้วยพลาสติกเบา เพื่อไม่ให้ดึงรั้งท่อเจาะหลอดลมคอ
(2) การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)เป็นอุปกรณ์คล้ายหน้ากากคล้องไว้กับคอ ครอบบนท่อเจาะหลอดลมคอ ออกซิเจนจะไหลเข้าทางรูเปิดขณะหายใจเข้า
(3) การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนที่ครอบตัวผู้ปุวยลักษณะคล้ายเต็นท์ ประกอบด้วยมุ้งพลาสติก มีซิบเปิด-ปิด ครอบบนโครงโลหะ ด้านหลังกล่องใส่น้ าแข็ง
(4) การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen boxเป็นอุปกรณ์ใช้ครอบศีรษะและไหล่ผู้ปุวยเด็ก ลักษณะเป็นกระโจมหรือกล่องพลาสติกให้ออกซิเจนมีท่อน าออกซิเจนเข้าภายใน
(5) การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ(endotracheal tube: ET) เป็นท่อช่วยหายใจซึ่งแพทย์จะใส่ท่อนี้เข้าไปในหลอดลมของผู้ปุวย แล้วต่อเข้ากับเครื่องช่วยหายใจ (respirator) ใช้ในผู้ปุวยที่ไม่สามารถหายใจได้ด้วยตนเอง
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
1) ชนิดละอองโต (Bubble)ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30–40%สายให้ก๊าซมีขนาดเล็กน้ าจะปุดเป็นฟองเมื่อเปิดให้กับผู้ปุวยมักใช้กับ oxygen cannula
2) ชนิดละอองฝอย (Jet)ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับผู้ปุวยที่มีเสมหะเหนียว มักเห็นเป็นหมอก สายให้ออกซิเจนมักมีขนาดใหญ่และเป็นลูกฟูก (corrugated)
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
1) ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)ก่อนใช้ออกซิเจนจากถังบรรจุออกซิเจน ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ
2) ระบบท่อ(Oxygen pipeline)ก่อนใช้ออกซิเจนจากระบบท่อ ต้องมีอุปกรณ์ควบคุมอัตราการไหลของก๊าซ(regulation of gas flow)
ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
1.อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อนการให้ออกซิเจนอุปกรณ์ที่ใช้มีโอกาสก่อให้เกิดการติดเชื้อได้ เช่น น้ ากลั่นในขวด humidifier สายที่น าออกซิเจนมาสู่ผู้ปุวย
อาจท าให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้ เนื่องจากออกซิเจนเป็นก๊าซแห้ง เมื่อผ่านเข้าในระบบทางเดินหายใจจะท าให้เยื่อบุแห้ง
อาจเกิดการท าลายเนื้อเยื่อในปอด ออกซิเจนจะก่อพิษในปอดได้หากได้รับในระยะเวลานาน คือ 24 –48 ชั่วโมง และความเข้มข้นของก๊าซ มากกว่าร้อยละ60อาการเป็นพิษนี้พบได้ตั้งแต่
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias) คือ การได้รับออกซิเจนความเข้มข้นสูงเป็นระยะเวลานานๆ
5.อาจเกิดการหยุดหายใจ ในผู้ปุวยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ศูนย์การหายใจจะไม่เป็นตัวควบคุมการหายใจ แต่ใช้ chemoreceptor reflex เป็นตัวควบคุมแทน
6.อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิดเพราะการสันดาป (combustion) เป็นขบวนการที่เชื้อเพลิงท าปฏิกิริยากับออกซิเจนจนเกิดเป็น oxide
กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
ตัวอย่างหญิงไทยสูงอายุ90 ปี ปุวยเป็นโรคชราและความจ าเสื่อม ช่วยเหลือตนเองได้น้อยมาก นอนติดเตียง (bed redden) ให้ออกซิเจน cannula2 lit/min มีเสมหะใสไอออกได้เอง
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)S : “ผู้ปุวยบอกว่าหายใจไม่สะดวก”O : หญิงไทยสูงอายุ ปุวยเป็นโรคชราและความจ าเสื่อมนอนติดเตียงอ่อนเพลียซีดเล็กน้อยรูปร่างผอมบาง ช่วยเหลือตนเองได้น้อยon O2 cannula2 lit/min
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลงข้อมูลสนับสนุนผู้ปุวยมีเสมหะสีเหลืองข้น
การวางแผนการพยาบาล (Planning)วัตถุประสงค์ เพื่อส่งเสริมให้ผู้ปุวยได้รับออกซิเจนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย2 lit/min ตามแผนการรักษาและไม่เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
การวางแผนวางแผนให้การผู้ปุวยได้รับออกซิเจนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 2 lit/min ตามแผนการรักษาและมีความปลอดภัยขณะได้รับการออกซิเจนและจัดเตรียมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนชนิด cannula
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
5.การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation)สิ่งที่ต้องประเมิน
5.1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
5.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
5.3 ประเมินผลคุณภาพการบริกา