Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
บทที่ 7การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
ระบบทางเดินหายใจและกลไกการทำงาน
:check:
ระบบทางเดินหายใจ
เติมก๊าซที่สำคัญ
กำจัดก๊าซของเสีย
กลไกการหายใจ
การหายใจเข้า (Inspiration)
การหายใจออก (Expiration)
การหายใจในระดับเซลล์
กลไกควบคุมการหายใจ :recycle:
การควบคุมแบบอัตโนมัติ
การควบคุมภายใต้อำนาจจิตใจ
การรับก๊าซออกซิเจน
:check:
การทำงานเป็น 3 ส่วน
1.การทำงานของเม็ดเลือดแดง
“จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง”
2.ความดันออกซิเจน
เลือดเป็นตัวกลางการส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์
เม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจน
3.การหมุนเวียน
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ำ
ปัจจัยที่มีผลต่อการไดรับออกซิเจน :<3:
1.การเดินทางหรืออาศัยในที่สูงออกซิเจนต่ำลง
2.อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูงออกซิเจนต่ำลง
3.การเล่นกีฬาหรือออกก าลังกายหนัก ๆต้องการออกซิเจนมากขึ้น
4.ความเครียดต้องการออกซิเจนมากชึ้น
5.อาหารที่มีไขมันมาก ออกซิเจนต่ำลง
6.ผู้สูงอายุความสามารถรับออกซิเจนต่ำลง
7.การสูบบุหรี่ เกิดภาวะพร่องออกซิเจน
8.การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์ รับออกซิเจนน้อยลง
การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
ร่างกาย :warning:
2) ระบบหัวใจและหลอดเลือด
ชีพจรเต้นเร็วผิดปกติ
ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ฯลฯ
1) ระบบทางเดินหายใจ
paroxysmalnocturnal dyspnea
air hunger
หยุดหายใจ และอื่นๆ
Orthopnea
3) ระบบประสาทส่วนกลาง ความรู้สึกตัว
4) ระบบผิวหนัง เย็นซีดฯลฯ
5) ระบบทางเดินอาหาร คลื่นไส้ อาเจียน
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ :warning:
ABG
Arterial oxygen saturation
Hb
ผู้หญิง11.5–16.5gm% :woman:
ผู้ชาย 13.0-18 gm% :man::skin-tone-2:
สาเหตุและการพยาบาลอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
:check:
อาการไอ (Cough) :no_entry:
สาเหตุ:fire:
1.การอักเสบหรือการบวม ไอน้อยกว่า 2 สัปดาห์
ฝุุน ควัน สารเคมี อาหารหรือน้ าที่ส าลักเข้าไป
ความร้อน -เย็นของอากาศ
ลักษณะ :!:
ไอแห้งๆ
ไอมีเสมหะ
การพยาบาล :star:
1.ประเมินประสิทธิภาพ
สังเกตและบันทึก
ลักษณะ
เสียง
ความถี่
ระยะเวลา
ไอมีเสมหะบันทึกจำนวน ลักษณะ สีและกลิ่น
4.ดูแลความสะอาด
5.กระตุ้นให้ดื่มน้ าอุ่น
กระตุ้นให้เปลี่ยนท่า
7.สอนeffective cough
ดูแลให้ยา
Hemoptysis :no_entry:
ชนิด
มีเลือดสดออกมาพบในวัณโรคปอด
มีเลือดปนออกมา
เลือดออกเป็นสาย
มีเสมหะสีคล้ายสนิม
สาเหตุ:fire:
1.อุบัติเหตุ
2.การอักเสบ
3.เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอด
การพยาบาล :star:
1.ให้ผู้ป่วยพักผ่อน
ประเมินชีพจร หายใจ และความดันโลหิต
ถ้าเสียเลือดมากอาจต้องให้เลือด เฝ้าระวัง
4.พยาบาลต้องคอยปลอบโยน ให้กำลังใจ และให้การดูแล
Hiccup การสะอึก :no_entry:
สาเหตุ:fire:
กินอิ่มมากเกินไป
เกิดแก๊ส (Carbonate)
ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูบบุหรี่
กินอาหารรสจัด
ผลจากยาบางชนิด ฯลฯ
การพยาบาล :star:
ให้ดมสารที่มีกลิ่นฉุน แอมโมเนีย ฯลฯ
ให้ชิมของเปรี้ยวจัด
แนะนำให้หายใจเข้าออกในถุงปิด
4.กลั้นหายใจเป็นพักๆ
เบี่ยงเบนความสนใจ
ดูแลความปลอดภัยจากสิ่งแวดล้อม
Dyspnea :no_entry:
สาเหตุ:fire:
ทางเดินหายใจอุดกั้น หรือปอดถูกท าลายเป็นต้น
การทำงานของหัวใจไม่ดี
โรคไขสันหลังอักเสบ ผู้ปุวยที่หายใจล าบากอาจมีเสียง wheeze ร่วมด้วย ฯลฯ
การพยาบาล :star:
นอนศีรษะสูง+ให้ออกซิเจน
2.ดูแลด้านจิตใจ ประเมิน V/Sทุก1-2 hrs.
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ
ฝึกให้ผู้ปุวยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
5.ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer)
Chest pain :no_entry:
สาเหตุ :fire:
กล้ามเนื้ออักเสบ
จากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบ
จากหัวใจ :<3:
จากหลอดลมอักเสบ
จากเส้นประสาท
การพยาบาล :star:
1.สังเกตอาการ
2.ประเมินหาสาเหตุ
จัดเตรีมอุปกรณ์
บทบาทพยาบาลส่งเสริมรับออกซิเจน
:check:
ภาวะขาดออกซิเจน
วิตกกังวล กระสับกระส่าย วิงเวียน
สมาธิลดลง พฤติกรรมเปลี่ยน
ความรู้สึกตัวลดลง อ่อนเพลีย
ชีพจรเร็วขึ้น อัตราการหายใจเร็วและลึก
BP ลดลง
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
หายใจลำบาก ซีด
การให้ออกซิเจน :recycle:
วัตถุประสงค์
รักษาภาวะพร่องออกซิเจน
ลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ช่วยร่างกายทำงานปกติ
ข้อชี้บ่ง :warning:
PaO2< 60 mmHg หรือ SaO2< 90%
hypoxemia
severe trauma
MI
ผ่าตัด
การพยาบาล :star:
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก2-3 ชั่วโมง
ดูแลด้านจิตใจ
ระวัง :warning:
ติดเชื้อโรคแทรกซ้อน
เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคือง
ทำลายเนื้อเยื่อในปอด
อันตรายกับดวงตา
หยุดหายใจ
เกิดไฟไหม้หรือการระเบิด
หลักปฏิบัติ
ล้างมือให้สะอาด สวมmask
ประเมินสัญญาณชีพและระดับความรู้สึกตัว
ใส่flow meter กับแหล่งที่มาของออกซิเจน
ต่อกระบอกความชื้นที่ปลอดเชื้อ
ปรับระดับลูกลอยใน flow meter
หมุนปุุมเปิด flow meter ปรับอัตราการไหลของออกซิเจนทิ้งไว้ 1–2 นาที
กรณีให้ nasal cannula
ทำความสะอาดช่องจมูกทั้งสองข้างและทุก 8 ชั่วโมง
สวมเขี้ยวเข้าในช่องจมูกทั้ง 2 ข้าง
ลงบันทึกทางการพยาบาล :<3:
บทบาทพยาบาล :star:
การจัดท่าผู้ป่วย
hypoxia>>high fowler’s position
ฯลฯ
การบริหารการหายใจ
diaphragmatic breathing
pursed -lip breathing
deep breathing
การดูดเสมหะ
:check:
การพยาบาล :star:
การช่วยท าให้ทางเดินหายใจโล่ง
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
บอกให้ผู้ป่วยทราบว่าจะทำอย่างเบามือ ถ้าเจ็บให้ยกมือขึ้น
ด้านจิตใจ
ผู้ปุวยเข้าในถึงวัตถุประสงค์และความจำเป็น
ดูดเสมหะด้วยความเบามือ และนุ่มนวล
พูดให้กำลังใจ
ผ่อนคลายความวิตกกังวล
เครื่องดูดเสมหะ
1.เครื่องดูดเสมหะชนิดเคลื่อนที่
ชนิดติดฝาผนัง
วิธีการดูดเสมหะ
1.การดูดเสมหะทางจมูกหรือปาก
2.การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ หรือทางท่อหลอดคอ
อาการแทรกซ้อน :warning:
1.แรงกด
มีโอกาสติดเชื้อได้ง่าย
3.เกิดการระคายเคือง
อาจเกิดการสำลัก
5.ริมฝีปากแห้งเกิดเป็นแผลได้ง่าย
6.อาจเกิดความผิดปกติในผู้ปุวยโรคหัวใจ
การเก็บสิ่งส่งตวรจ :pen:
การเก็บเสมหะส่งตรวจ(Sputum examination)
การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ(Sputum culture)
กระบวนการพยาบาล
:check:
ตัวอย่างหญิงไทยสูงอายุ90 ปี ปุวยเป็นโรคชราและความจำเสื่อม ช่วยเหลือตนเองได้น้อยมาก นอนติดเตียง (bed redden) ให้ออกซิเจน cannula2 lit/min มีเสมหะใสไอออกได้เอง
การประเมินภาวะสุขภาพ :red_flag:
S: “ผู้ปุวยบอกว่าหายใจไม่สะดวก”
O:ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ: Hct = 27 %Hb = 9 mg%
V/S:T = 37 ̊C, P = 80 ครั้ง/นาที, R = 26 ครั้ง/นาที, BP = 140/90mmHg
ผลแลป
การวินิจฉัยทางการพยาบาล :red_flag:
เสี่ยงต่อภาวะพร่องออกซิเจนเนื่องจากประสิทธิภาพในการแลกเปลี่ยนก๊าซลดลง
ข้อมูลสนับสนุนผู้ปุวยมีเสมหะสีเหลืองข้น
การวางแผนการพยาบาล :red_flag:
ให้การผู้ปุวยได้รับออกซิเจนได้เพียงพอกับความต้องการของร่างกาย 2 lit/min
มีความปลอดภัยขณะได้รับการออกซิเจน
จัดเตรียมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนชนิด cannula
การปฏิบัติการพยาบาล :red_flag:
ร่างกาย
vital signsทุก 4 ชม
ประเมิน O2saturation ทุก 2 ชม
ฯลฯ
จิตใจ
ลดความวิตกกังวลและความกลัว
การประเมินผลการพยาบาล :red_flag:
ผลลัพธ์การพยาบาล
กิจกรรมการพยาบาล
คุณภาพการบริการ