Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 6 ยาแก้ปวด ลดไข้ และยาต้านการอักเสบ( Analgesic,antipyretic andanti…
บทที่ 6 ยาแก้ปวด ลดไข้ และยาต้านการอักเสบ( Analgesic,antipyretic andanti-inflammatory drugs )ยาแก้ปวดชนิดเสพติดยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร
ยาแก้ปวด ลดไข้ และยาต้านการอักเสบ ( Analgesic , antipyretic and anti-inflammatory drugs)
ยาลดไข้
Paracetamol
พาราเซตามอล (Paracetamol) หรือ อะเซตามีโนเฟน
มีฤทธิ์บรรเทาอาการยาแก้ปวดและลดไข้ ซึ่งเป็นยาพื้นฐานที่มักใช้เพื่อบรรเทาไข้ อาการปวดศีรษะ
Aspirin (Acetylsalicylic acid)
การใช้ยาแอสไพรินเพื่อบรรเทาอาการปวด อักเสบ และลดไข้ ขนาดยา
Ibuprofen
ยาไอบูโพรเฟน เป็นยาที่ใช้ลดไข้ แก้ตัวร้อน
ต้องระมัดระวังหรือไม่ใช้เลยในรายที่มีอาการขาดน้ำเพราะส่งผลให้ไตวายได้
ยาแก้ปวด
ยาแก้ปวดชนิดเสพติด(Opioid analgesics)
Opioid (narcotic): สารสกัดจากฝิ่น สารกึ่งสังเคราะห์ สารสังเคราะห์ ที่มีฤทธิ์คล้ายมอร์ฟีน
แบ่งตามความแรงของการออกฤทธิ์
– Weak opioid analgesics: codeine, tramadol
– Strong opioid analgesics: morphine, pethidine, fentanyl, methadone
ทำให้เกิดฤทธิ์แก้ปวดโดยไม่มีฤทธิ์ทำให้หมดสติ (unconciousness)
ใช้แก้ปวดชนิดรุนแรง
ข้อควรระวังในการใช้ยา
ห้ามใช้ในหญิงตั้งครรภ์เพราะจะทำให้เกิดการติดยาในทารก
ระวังการใช้ร่วมกับยาที่เกี่ยวกับระบบประสาทส่วนกลางเพราะจะทำให้มีการกดศูนย์หายใจมากขึ้น
ยาแก้ปวดชนิดเสพติดอย่างแรง
(Strong opioid analgesics)
Morphine sulfate
เป็นยาแก้ปวดที่เข้าสารเสพติดตัวแรก (Prototype opioidanalgesic)
ระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคหอบหืด ความดันในสมองสูง ภาวะshock ไตวาย และโรคตับ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยา มอร์ฟีน
ระวังเรื่องอาการไม่สุขสบายจากการท้องผูก หากให้ยาเป็นเวลานาน ดูแลให้ได้รับยาระบายเพื่อลดภาวะไม่สุขสบาย
Pethidine
Fentanyl
Methadone
มีฤทธิ์แก้ปวดได้เท่ากับมอร์ฟีนแต่ฤทธิ์อยู่ได้นานกว่า
ใช้ในการแก้ปวดรุนแรง หรือใช้ในการป้องกันภาวะเจ็บเค้นหน้าอก
ใช้บรรเทาอาการปวดปานกลางถึงปวดรุนแรง
ยาแก้ปวดชนิดไม่เสพติด ( Nonopioid anagesics )
-Nonsteroidal anti-inflammatory drugs (NSAIDs)
Paracetamol
หมายถึง ยาต้านการอักเสบชนิดที่ไม่ใช่สเตียรอยด์เป็นยากลุ่มที่ใช้เป็นยาแก้ปวดได้ดี โดยเฉพาะ อาการปวดจากการอักเสบคือ แอสไพริน (Aspirin)
โรคข้ออักเสบรูห์มาตอยด์
โรคข้อเสื่อม
โรคไขสันหลังอักเสบ
โรคเก๊าท์
ยาแก้ปวดชนิดเสพติดอย่างอ่อน
(Weak opioid analgesics)
Codeine sulfate
มีฤทธิ์แก้ปวดน้อยกว่า morphine
ให้ยาในรูปของยาผสมร่วมกับยาแก้ปวดชนิดไม่เสพติด ได้แก่ aspirin paracetamol เพราะได้ฤทธิ์เสริมกัน
Tramadol
เป็น opioid สังเคราะห์มีฤทธิ์ระงับปวด ชนิดฉีดมีความแรงเท่ากับ pethidineใช้ในการระงับอาการปวดน้อยถึงปานกลางผลข้างเคียง : คลื่นไส้ อาเจียน ปวดศีรษะ ท้องผูกแต่น้อยกว่า opioid ชนิดอื่น
การเจ็บปวด ( Pain )
Acute Pain
– การได้รับสิ่งกระตุ้นที่รุนแรง
อาการเจ็บปวดที่เกิดขึ้นนานเป็นเดือนหรือเป็นปี
สามารถบอกสาเหตุได้
Chronic pain
การรักษาด้วย opioid ไม่ค่อยได้ผลต้องรักษาควบกับการทำจิตบำบัด
อาการเจ็บปวดที่เกิดขึ้นนานเป็นเดือนหรือเป็นปี
สเตียรอยด์
ยากลุ่มสเตียรอยด์
• Hydrocortisone , Prednisolone ,Triamcinolone
• Fluocinolone, Betamethasone ,Clobetasol
• Desoximetasone, Prednicarbate, Mometasone
• Beclomethasone, Budesonide ,Dexamethasone
ประโยชน์
ทดแทนภาวะขาดฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต ข้ออักเสบเฉพาะที่รุนแรงควบคุมไม่ได้ด้วยยามาตรฐาน โดยให้ยาด้วยวิธีรับประทาน หรือ ฉีดเข้าข้อโดยตรง
การปลูกถ่ายอวัยวะ เพื่อให้เกิดการยอมรับอวัยวะผู้อื่นดีขึ้น
โทษ
ยามีฤทธิ์กดการทำงานของต่อมหมวกไต ห้ามหยุดยาอย่างทันที
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ผิวหนังบางเกิดภาวะแคลเซียมในเลือด
ต่ำภาวะกระดูกพรุน (Osteoporosis)
คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ทางเดินอาหารระคายเคือง เกิดแผลในกระเพาะอาหาร
ยาที่ใช้ในระบบทางเดินอาหาร
Antacid
ประกอบด้วย : NaHCO3, Al(OH)3, Mg(OH)2, CaCO3
MOA : สะเทินกรด (ท าให้pepsin ท างานได้น้อยลง)
H2 blocker
ประกอบด้วย : Cimetidine, Ranitidine, Famotidine
มักใช้ยานี้ก่อนนอนเนื่องจากการลดการหลั่งกรดขณะนอนหลับจะช่วยให้แผลหายได้เร็วขึ้น
Proton Pump
Inhibitor : PPI
ประกอบด้วย : Omeprazole, Esomeprazole, Lanzoprazole, Rabeprazole,
รักษาแผลในกระเพาะอาหาร และลำไส้เล็กส่วนต้นใช้ในการป้องกันการเกิดแผลในทางเดินอาหารจาก NSAIDs
Cytoprotective
Sucralfate
Prokinetic Agent
Prokinetic agent: คือยาที่มีผลต่อการเคลื่อนไหวของทางเดินอาหารส่วนบน ทำให้ gastric emptying time เร็วขึ้น และยังมีผลเพิ่มแรงดันของ loweresophageal sphincter จึงสามารถใช้ในการรักษา GERD ได้
Antiflatulence
MOA : reduce surface tension ของฟองแก๊สในทางเดินอาหาร
โรคที่เกิดจากภาวะกรดเกิน
ภาวะไม่สบายในท้อง : Dyspepsia
โรคที่มีอาการปวดท้องหรือไม่สบายท้องที่มีสาเหตุจากความผิดปกติของบริเวณกระเพาะอาหารหรือลำไส้เล็กส่วนต้น
โรคกระเพาะอาหาร : Peptic ulcer
mucosal erosions at least 0.5 cm.
may caused by bacteria – Helicobactor pyroli
may caused by Steroids, NSAIDs
โรคกรดไหลย้อน : GERD
Irritation Bowel Syndrome (IBS) :โรคลำไส้แปรปรวน
Constipation: ท้องผูก
เป็นอาการถ่ายอุจจาระน้อยกว่าปกติหรือถ่ายอุจจาระไม่ออกเป็นเวลานาน
Diarrhea
ท้องเสียแบบไม่ติดเชื้อ
Lactose Intolerance ขาดเอนไซม์แลคเตสที่ทำหน้าที่ย่อยน้ำตาลในนม
การรักษา แบบ ท้องเสียแบบไม่ติดเชื้อSupportive treatment