Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การสร้างสภาพแวดล้อมเชิงสร้างสรรค์ในห้องเรียน, นางสาวรูสลีนา ยูนุ๊…
บทที่ 1 การสร้างสภาพแวดล้อมเชิงสร้างสรรค์ในห้องเรียน
ห้องเรียนคืออะไร
แม้ว่าเกือบทุกคนผ่านการนั่งเรียนในห้องเรียนมากกว่า 12 ปี มีทั้งความสนุกหรือให้ความรู้ก็ตามที
ในไม่ช้านี้นักศึกษาครูก็จะได้ยืนอยู่หน้าชั้นเรียนเฉกเช่นเดียวกับนักศึกษาครู ดังนั้นนักศึกษาครูรู้จักห้องห้องเรียนดีหรือยัง การที่นักศึกษาครูคุ้นชินกับการนั่งเรียนในห้องเรียนมาก่อน นักศึกษาครูพึงระวงไว้ว่าความคุ้นชินดังกล่าวอาจก่อให้เกิดการรับรู้ที่ผิด
โดยทั่วไปแล้วห้องเรียนคือสถานที่ซึ่งเกิดการปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูและผู้เรียน โดยการนำข้อมูลต่างๆที่มีอยู่ไปผ่านกระบวนการเรียนการสอน เพื่อให้นำไปสู่ความรู้
ดังนั้นกิจกรรมต่างๆในผู้เรียนจึงเกี่ยวเนื่องถึงเป้าประสงค์ในการสื่อสารกับบรรดาผู้เรียน
การกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้
การติดตามพัฒนาการของผู้เรียน
การทำให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์และคิดเชิงสร้างสรรค์
การรักษาระเบียบวินัย
สำหรับบทบาทของผู้เรียน
ต้องเข้าสังคมกับเพื่อนผู้เรียนด้วยกัน
จะต้องรับฟังข้อมูลและำชี้เเนะจากครู
กระตือรือร้นในการทำงานเดี่ยวและกลุ่ม
ทำแบบทดสอบและตอบคำถาม
มีปฏิสัมพันธ์และยอมรับการช่วยเหลือและผลตอบรับจากครูและเพื่อน
หน้าที่ของครูฝึกหัดในฐานะของครู
ต้องสร้างบรรยากาศที่ทำให้ทุกฝ่ายทำงานร่วมกันอย่างกลมกลืน
บทนำ
บทนี้จะนำนักศึกษาครู (Student teacher) หรือครูฝึกหัด หรือครูใหม่ หรือเรียกสั้นๆว่า "ครู" เข้าสู่ห้องเรียน ในบทนี้ครูจะได้เรียนรู้
ธรรมชาติการทำงานในห้องเรียนในบริบททางกายภาพและทางจิตภาพ
จะสามารถอภิปรายบริบททางจิตภาพ
สามารถอภิปรายเกี่ยวกับคุณลักษณ์ของผู้เรียนและข้อปฏิบัติของครู
ห้องเรียน
ชั้นเรียนปกติมีพื้นที่ใช้สอยโดยเฉลี่ยที่ 80 ตารางเมตร
พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้สำหรับวางโต๊ะ เก้าอี้
สำหับครู 1 ชุด นักเรียน 30-40 ชุด
ตู้หรือชั้นวางอุปกรณ์สื่อการเรียนการสอนและชั้นเลื่อนวางเครื่องฉายภาพโปรเจคเตอร์
หากชั้นเรียนประถมจะมีมุมหนังสือให้ผู้เรียนได้อ่านด้วย
หน้าชั้นเรียนมีกระดานดำอยู่กลางผนัง ปลายกระดานทั้ง 2 ด้าน มีบอร์ดสำหรับติดประกาศต่างๆ
หลังห้องจะมีกระดานขนาดใหญ่สำหรับติดประกาศ ผลงานผู้เรียน
สำหรับการจัดวางโต๊ะเก้าอี้ ต้องคำนึงถึงหลักต่อไปนี้
วิธีการสอนหลัก
มีกิจกรรมที่ต้องเคลื่อนไหวหรือไม่
ชนิดและลักษณะรวมถึงที่เก็บอุปกรณ์การเรียนการสอนพร้อมใช้หรือไม่
การจัดวางโต๊ะ เก้าอี้บดบังทัศนวิสัยของกระดานดำหรือสื่อการสอนอื่นๆหรือไม่
นอกเหนือจากห้องเรียนปกติและยังจัดให้มีห้องพิเศษซึ่งติดตั้งอุปกรณ์เพื่อการเรียนการสอนเฉพาะด้านอีกด้วย
ในชั้นเรียนมัธยมศึกษา
ห้องออกแบบและเทคโนโลยี
ห้องคอมพิวเตอร์
ห้องบรรยายไร้รูปแบบ
ในชั้นเรียนประถมศึกษา
ห้องวิทยาศาสตร์
ห้องคอมพิวเตอร์
ห้องคณิตศาสตร์
ห้องดนตรี
สภาพเเวดล้อมในการเรียนรู้ หมายถึง สภาพแวดล้อมทั้งหมดและวัฒนธรรมของชั้นนั้นๆ ซึ่งรวมถึง รูปแบบการสื่อสาร การออกแบบ จัดวางพื้นที่ และความสามารถของครูในการบริหารจัดการชั้นเรียน
สภาพเเวดล้อมเชิงกายภาพ หมายรวมถึง องค์ประกอบทางกายภาพ เช่น เเสง เสียง พื้นที่ เฟอร์นิเจอร์ ซึ่งมีอิทธิพลต่อความสบายของผู้เรียน
ในระดับมัธยม แม้ว่าจสลับสับเปลี่ยนครูตามวิชา เพราะห้องเรียนที่เป็นระเบียบเรียบร้อยจะทำให้เกิดบรรยากาศสบายน่าเรียน
สำหรับในโรงเรียนมัธยมบางเเห่งจะใช้ระบบฮมรูม
โดยผู้เรียนจะต้องเดินไปเข้าเรียนตามวิชาต่างๆ
ครูมีหน้าที่ตัดระเบียบห้องของตัวเอง
โรงรียนบางแห่งถึงกับจัดงบประมาณให้ครูประจำชั้นได้นำไปตกแต่ง
ระดับประถม การจัดระเบียบห้องเรียนดังกล่าวจะทำได้ง่ายขึ้นเนื่องจากครูฝึกหัดจะต้องสอนวิชาหลักๆให้เฉพาะชั้นเรียนชองครูเท่านั้น
สภาพเเวดล้อมเชิงจิตภาพ
ครูมักจะคิดกันว่าห้องเรียนเป็นสถานที่สำหรับการเสริมสร้าวความรู้
หากแต่ความจริงแล้ว ห้องเรียนยังเป็นสถานที่ซึ่งผู้เรียนจะสามารถสร้างมิตรภาพและเรียนรู้ไปพร้อมกัน
เป็นสถานที่สำหรับการปฏิสัมพันธ์โดยการพัฒนาทักษะด้านการเข้าสังคม
เสริมสร้างความมั่นใจในตัวเองและสร้างบคุลิกภาพลักษณะพิเศษประจำตัวแก่ผู้เรียน
ห้องเรียนจะต้องมีบรรยากาศที่ทำให้ผู้เรียนทุกคนรู้สึกดี ปลอดภัยและสบาย
ครูจะต้องสอดส่องดูแลการเข้าสังคมและการจับกลุ่มปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียนในชั้นเรียนด้วย
ต้องไม่ให้เกิดสถานการณ์ที่ไม่ดี
การจับกลุ่มเป็นอันธพาล
การรีดไถเงิน
การรังแกกัน
ลักษณะของสภาพเเวดล้อมเชิงจิตภาพที่ดีในชั้นเรียน ได้แก่
ปลอดภัยจากภัยคุกคาม
มีบรรยากาศเป็นมิตร
ผู้เรียนรู้สึกดีที่จะเป็นสมาชิกในชั้นเรียน
สามารถเเสดงความคิดเห็นได้อย่างเสรี
มีบรรยากาศกระตุ้นการเรียนรู้
มีบรรยากาศการเรียนรู้ร่วมกัน
ธรรมชาติของการทำงานในชั้นเรียน
ชั้นเรียนประกอบด้วย
ผู้เรียนที่มีภูมิหลัง
ประสบการณ์และความคาดหวังที่แตกต่างกัน
Doylr (1986) ได้จำแนก 6 ลักษณะเด่น
เป็นงานที่มีมิติหลากหลาย เนื่องจากครูจะต้องปรับตัวให้เข้ากับบรรดาผู้เรียน
ครูจะต้องมีส่วนร่วมในการอธิบายแนวความคิดและสาธิตทักษะต่างๆ
เป็นงานที่ต้องทำหลายอย่างในเวลาเดียวกัน
ขณะที่ครูกำลังสอนแนวคิดต่างๆนั้น จะต้องยกตัวอย่างพิจารณาที่เหมาะสมกับประสบการณ์ของผู้เรียน
เป็นงานที่ต้องแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า
หากผุ้เรียนทะเลาะกัน ครูจะต้องพิจารณาแก้ไขสถานการณ์ดังกล่าว
เป็นงานที่ไม่สามารถคาดเดาได้
การที่ผู้เรียนซึ่งมักเงียบ ลุกขึ้นมาพูดแสดงความเห็นอย่างหนักจริงจังโดยไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อการเรียนการสอน
เป็นงานที่มีความเป็นสาธารณะ
การแอบอ่านหนังสือการ์ตูนในชั้นเรียน
เป็นงานที่ต้องสั่งสมความทรงจำและประวัติที่ผ่านมา
ผู้เรียนอาจจดจำว่าครูไม่เคยลงโทษตามที่คำขู่เลย ดังนั้นผู้เรียนจึงไมเคารพเชื่อฟังหากครูเตือนว่าจะลงโทษในครั้งต่อๆไป
การบรริหารจัดการชั้นเรียนคืออะไร
แบ่งออกเป็น 3 ระดับ โดยครูจะต้องบริหารจัดการทั้ง 3 ระดับในเวลาเดียวกัน
กิจกรรมการเรียนสอน ครูต้องบริหารจัดการกิจกรรมการเรียนสอน
โดยต้องวิเคราะห์วัตถุประสงค์
จัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสม
นำกิจกรรมไปปฏิบัติและประเมินผลการเรียนรู้
2.พฤติกรรมนักเรียน ครูจะต้องจัดการพฤติกรรมของผู้เรียน
เพื่อให้ผู้เรียนใส่ใจและทุ่มเทพลังงานทั้งหมดไปยังกระบวนการเรีนรู้
ต้องให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม
ครูต้องกำหนดข้อปฏิบัติทั่วไปสำหรับพฤติกรรมที่เหมาะสมในชั้นเรียน
3.สภาพเเวดล้อม ครูจะต้องบริหารจัดการสิ่งเเวดล้อมเชิงกายภาพและจิตตภาพ
เพื่อทำให้สภาพที่น่าทำงาน
นางสาวรูสลีนา ยูนุ๊ 6220160405