Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8, image, image, image, image, image, image, image, image, image,…
บทที่ 8
ยาที่มีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันโรค ( Immunomodulation drugs )
Generations
Second generation - Lenalidomide ยาที่ปรับเปลี่ยนภูมิคุ้มกันตัวใหม โดยไม่ต้องใช้วิธี รักษาด้วยคีโมบำบัด ยารักษาโรคมะเร็งซึ่งมีสรรพคุณการรักษาคล้ายคลึง กับยา thalidomide
Third generation - Apremilast Phosphodiesterase 4 (PDE4) เป็นเอนไซม์ที่อยู่ภายในเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับการ อักเสบหลายชนิด เช่น eosinophils, neutrophils, macrophages, T cellsเอนไซม์ที่ไปทำลาย cyclic adenosine monophosphate (cAMP)
PDE4 จึงมีบทบาทในโรคต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบ เช่น โรคสะเก็ดเงิน (psoriasis), ข้ออักเสบในโรค สะเก็ดเงิน (psoriatic arthritis), โรคข้อสันหลังอักเสบยึดติด (ankylosing spondylitis)
First generation - Thalidomide ใช้รักษามะเร็งได้หลายชนิด เช่น melanoma, multiple myeloma, renal cell และมะเร็งรังไข่
ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressants) ได้แก่ เพร็ดนิโซโลน (Prednisolone), เมโธเทรกเซท (Methotrexate), เอซาไธโอพรีน (Azathioprine), ไซโคลฟอสฟา ไมด์ (Cyclophosphamide) และ ไซโคลสปอริน (Cyclosporin)
โรค Auto immune ออโตอิมมูน (Autoimmune)โรคภูมิต้าน ตนเองจะสูญเสียความทรงจ า ไม่สามารถแยกแยะเนื้อเยื่อตัวเองออก จากสิ่งแปลกปลอม เรียกโรคออโตอิมมูนว่า “โรคแพ้ภูมิ (คุ้มกันของตัวเอง)
เพร็ดนิโซโลน (Prednisolone) สารสังเคราะห์กลุ่ม Glucocorticoid นำมาใช้ ทางการแพทยนำไปช่วยบำบัดรักษาอาการของโรคมะเร็งในเม็ดเลือด/มะเร็งเม็ดเลือดขาว
เมโธเทรกเซท (Methotrexate) การรับประทานยาทุกวันจะเป็นการได้รับยาเกิน ขนาด เป็นพิษต่อตับ ห้ามดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เนื่องจากทำให้เพิ่มพิษต่อตับได้
เอซาไธโอพรีน (Azathioprine)รักษาโรคแผล อักเสบในลำไส้ที่ออกฤทธิ์ของมัน คือ 6mercaptopurine (6-MP) และ 6-ThioGTP เป็นยาที่ใช้ในการรักษาโรคตุ่มน้ำพอง โรคเอสแอลอี
ไซโคลสปอริน (Cyclosporin) ยาไซโคลสปอรินนำมาใช้กดภูมิคุ้มกันฯในการปลูกถ่ายอวัยวะ เพื่อป้องกัน การปฏิเสธสิ่งปลูกถ่ายในผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ
ไซโคลฟอสฟาไมด์ (Cyclophosphamild) ่ในกลุ่ม Alkylating agents กระบวนการออก ฤทธิ์เพื่อต้านมะเร็งของยาซัยโคลฟอสฟาไมด์ทำให้ดีเอ็นเอทำหน้าที่ไม่ได้ ทำให้ไม่มีการแบ่งตัวของเซลล์มะเร็งเกิด ขึ้นได้
ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ ( Respiratory drugs )
โรคหืด (Asthma ) คนทั่วไปเรียกว่า โรคหอบหืด
โรคที่เกิดจากการหดตัวของระบบทางเดินหายใจเป็นครั้งคราว สาเหตุ กรรมพันธุ์ ระบบภูมิคุ้มกันของ ร่างกาย อาการอักเสบเรื้อรังของหลอดลม ท าให้หลอดลมมีความไวต่อ สิ่งเร้าต่างๆได้มากกว่าคนปกติ
ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
ยากลุ่มเมทิลแซนธีน (Methylxanthines) เช่น caffeine, theophylline, theobromine (ถ้าให้ยาร่วมกับยา กลุ่ม beta-2 agonists จะเสริมฤทธิ์กันในการขยายหลอดลม)
ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้านโคลิเนอร์จิก (Anticholinergic drugs or Muscarinic antagonists) ซึ่งเมื่อกระตุ้นตัวรับชนิดนี้จะทำให้ กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมหดตัว แต่ในทางตรงกันข้าม หากยับยั้งตัวรับ ชนิดนี้ก็จะทำให้กล้ามเนื้อเรียบของหลอดลมคลายตัวได้ ยานำมาใช้ในการรักษาหอบหืดคือ ipratropium bromide
ยากลุ่มกระตุ้นตัวรับชนิดเบต้า-2 (beta-2 agonists)
กลุ่มยาที่มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์นาน (long-acting) ประมาณ 12 ชั่วโมง ยาได้แก่ salmeterol, fenoterol, formoterol แต่ยามีระยะเวลาในการออกฤทธิ์นานขึ้น ทำให้ ไม่ต้องบริหารยาบ่อย (แต่มีข้อด้อยคือระยะเวลาเริ่มออกฤทธิ์ช้ากว่ากลุ่ม แรก จึงไม่นำมาใช้ในการรักษาหอบหืดแบบเฉียบพลัน )
กลุ่มยาที่มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์สั้น (short-acting) ออกฤทธิ์ประมาณ 4-6 ชั่วโมง ยา ได้แก่ Terbutaline (Bricanyl®) และ Salbutamol or Albuterol (Ventolin®) (หมายเหตุ : สามารถ นำมาใช้ชะลอการคลอดบุตรได้)
ยาต้านการอักเสบ (Anti-inflammatory drugs)
ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์ (Corticosteroids) ยากลุ่มมีฤทธิ์ต้านการอักเสบ โดย การไปยับยั้งเอนไซม์ phospholipase A2 ที่นิยมใช้ในการ รักษาหอบหืดจะนิยมในรูปแบบยาสูดพ่น หลังการใช้ ยาพ่นควรแนะนำให้ผู้ป่วยบ้วนปากเพื่อป้องกันการเกิดเชื้อราในช่องปาก ( Candidiasis )
ยากลุ่มยับยั้งการหลั่งสารสื่อจากเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับ กระบวนการอักเสบ ได้แก่ Cromolyn sodium และ Nedocromil sodiumยาทั้งสองตัวจะยับยั้งการหลั่งสารสื่อต่างๆที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบจาก mast cell ยา ในกลุ่มนี้จะเห็นผลค่อนข้างช้า ต้องใช้ยาติดต่อกันประมาณ 2-3 เดือนจึง จะเห็นผลในการรักษา
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ( COPD)
Chronic obstructive pulmonary disease เกิดจากการที่ปอดได้รับความเสียหายจนก่อให้เกิด ปัญหาทางด้านการหายใจโรคถุงลมโป่งพองและ หลอดลมอักเสบเรื้อรังร่วมด้วย เช่น ไอมีเสมหะ เหนื่อยหอบ แน่น หน้าอก เป็นต้น
อาการไอ
ไอแบบไม่มีเสมหะ (dry or nonproductive cough) ไอ แห้งๆ ไอถี่ๆ แต่ไม่มีเสมหะออกมา และการไอแบบมีเสมหะ (productive cough)ประโยชน์ในการ ช่วยขับสิ่งแปลกปลอมหรือสารคัดหลั่งต่างๆ ออกจากทางเดินหายใจ
ยาแก้ไอจึงแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม
ยาระงับไอชนิดเสพติด (Narcotic Antitussives)
ยาระงับไอชนิดไม่เสพติด (Non-narcotic Antitussives)
ยาระงับไอ หรือยากดการไอ (Anti-tussives or Cough Suppressants)
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics) ออกฤทธิ์ไปทำลายโครงสร้างของเสมหะ ทำให้ เสมหะแยกกันออกเป็นส่วนๆ เสมหะมีความหนืดลดลง ทำให้ถูกขับออก ด้วยการไอได้ง่ายขึ้น
ตัวอย่างยาในกลุ่มนี้ เช่น bromhexine, ambroxal, acetylcysteine, carbocysteine เป็นต้น
ยาขับเสมหะ (Expectorants) ทำให้เสมหะอ่อนตัวลง เพิ่มการ พัดโบกของขนเซลล์ในทางเดินหายใจ (cilia) ช่วยขับสิ่งแปลกปลอม
guaifenesin (glyceryl guaiacolate), ammonium chloride, potassium iodide เป็นต้น
โรคภูมิแพ้
ประเภทของยาแก้แพ้ หรือ ยาแอนติฮิสตามีน
กลุ่มที่ 1 ยา แอนติฮิสตามีน กลุ่มง่วง มีผลกดระบบ ประสาท ทำให้เกิดอาการ ง่วงซึม ไม่สดชื่น มีฤทธิ์เป็นแอนติโคลิเนอร์จิก (Anticholinergic drug เช่น คอแห้ง ปากแห้ง โพรงจมูกแห้ง ตาแห้ง)มีฤทธิ์อยู่ได้ประมาณ 4-6 ชั่วโมง
กลุ่มที่ 2 ยาแอนติฮิสตามีน กลุ่มไม่ง่วง ยาไม่ผ่านเข้าสมองจึงไม่กดระบบประสาท ทำให้ไม่ค่อยมีผลง่วงซึม ออกฤทธิ์ยาวนานกว่า 12 ชั่วโมงจนถึงหลายวันมีความเจาะจงต่อตัวรับฮิสตามีน สูง ไม่มีฤทธิ์เป็นแอนติโคลิเนอร์จิก
ถ้าเกิดที่จมูก จะทำให้มีอาการน้ำมูกไหล จาม ถ้าเกิดที่เนื้อปอด ถุงลม หลอดลม จะท าให้หลอดลมหดเกร็ง ที่ผิวหนังจะมี ผื่นขึ้น คัน เป็นลมพิษ ที่เยื่อบุตา จะทำให้มีอาการ คันตา เคืองตา