Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 8 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ ( Respiratory drugs ),…
บทที่ 8 ยาที่ออกฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ ( Respiratory drugs )
โรคที่เกี่ยวกับระบบทางเดินหายใจ
โรคหวัด ( Acute Rhinopharyngitis;common cold)
• โรคไข้หวัดใหญ่ ( Influenza)
• คออักเสบ ( Acute pharyngitis)
• โรคปอดอักเสบ (Pneumonia)
• โรคหลอดลมอักเสบ ( Acute Bronchitis)
โรคหืด (Asthma )
โรคที่เกิดจากการหดตัวหรือตีบแคบของระบบทางเดินหายใจเป็นครั้งคราว
สาเหตุอาจเกิดจากหลายปัจจัย เช่น กรรมพันธุ์ ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกาย การติดเชื้อ สิ่งแวดล้อม
ยาที่ใช้ในการรักษาหอบหืด
1.ยาขยายหลอดลม (Bronchodilators)
1.1 ยากลุ่มกระตุ้นตัวรับชนิดเบต้า-2 (beta-2 agonists)
มี 2 ชนิด
-a.กลุ่มยาที่มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์สั้น(short-acting)4-6 ชม. ตัวอย่างยา ได้แก่ Terbutaline (Bricanyl®) และ Salbutamol or Albuterol (Ventolin®) -b.กลุ่มยาที่มีระยะเวลาในการออกฤทธิ์นาน (long-acting)12 ชม.ตัวอย่างยา ได้แก่ salmeterol, fenoterol, formoterol
1.2 ยากลุ่มเมทิลแซนธีน (Methylxanthines)ตัวอย่างสารที่เป็นอนุพันธ์ของ xanthines เช่น caffeine, theophylline, theobromine ปัจจุบันตัวที่นิยมนำมารักษาโรคหอบหืด คือ Theophylline (The-dur®
1.3 ยากลุ่มที่มีฤทธิ์ต้านโคลิเนอร์จิก
(Anticholinergic drugs or Muscarinic antagonists) ที่นำมาใช้ในการรักษาหอบหืดคือ ipratropium bromide แต่ประสิทธิภาพของยากลุ่มนี้จะน้อยกว่ากลุ่ม beta-2 agonists
ยาต้านการอักเสบ
(Anti-inflammatory drugs)
2.1 ยากลุ่มคอร์ติโคสเตียรอยด์(Corticosteroids)
2.2 ยากลุ่มยับยั้งการหลั่งสารสื่อจากเซลล์ที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการอักเสบได้แก่ Cromolyn sodium (disodium cromoglycate) และ Nedocromil sodium
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง Chronic obstructive pulmonary disease( COPD)
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของปอด เช่น ไอมีเสมหะ เหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก
การไอเป็น 2 แบบ ได้แก่
-ไอแบบไม่มีเสมหะ (dry or nonproductive cough) มีลักษณะเป็นการไอแห้งๆ ไอถี่ๆ แต่ไม่มีเสมหะออกมา
-การไอแบบมีเสมหะ (productive cough) การไอแบบนี้มีประโยชน์ในการช่วยขับสิ่งแปลกปลอมหรือสารคัดหลั่งต่างๆ ออกจากทางเดินหายใจ
ยาแก้ไอจึงแบ่งออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
1 ยาระงับไอ หรือยากดการไอ (Anti-tussives or Cough Suppressants)
1.1 ยาระงับไอชนิดเสพติด (Narcotic Antitussives)ได้แก่ codeine
1.2 ยาระงับไอชนิดไม่เสพติด (Non-narcotic Antitussives) ได้แก่ dextromethorphan
ยาละลายเสมหะ (Mucolytics)
เช่น bromhexine, ambroxal, acetylcysteine, carbocysteine
ยาขับเสมหะ (Expectorants)
ได้แก่ guaifenesin (glyceryl guaiacolate),ammonium chloride, potassium iodide
Nasal Decongestants ยาแก้คัดจมูก
alpha1-adrenergic ลดอาการคัดจมูก
ยาหยอดจมูก
Oxymetazoline,Phenylephrine,
Xylometazoline
IntranasalCorticosteroids
ลดอาการบวม แดง อักเสบ
โรคภูมิแพ้
จะทำให้มีอาการน้ำมูกไหล จาม คัดแน่นจมูก เป็นหวัดภูมิแพ้
ประเภทของยาแก้แพ้หรือ ยาแอนติฮิสตามีน 2 กลุ่ม
กลุ่มที่ 1 ยา แอนติฮิสตามีน กลุ่มง่วงมีฤทธิ์เป็นแอนติโคลิเนอร์จิก (Anticholinergic drug, ยาต้านสารสื่อประสาทบางชนิด) ยาออกฤทธิ์ภายในเวลา 15-30 นาที
กลุ่มที่ 2 ยาแอนติฮิสตามีน กลุ่มไม่ง่วงยาออกฤทธิ์ยาวนานกว่า 12 ชั่วโมงจนถึงหลายวัน มีความเจาะจงต่อตัวรับฮิสตามีนสูง
Thalidomide
รักษามะเร็งได้หลายชนิด เช่น melanoma, multiple myeloma, renal cell และมะเร็งรังไข่
ยากดภูมิคุ้มกัน (Immunosuppressants)
ได้แก่ เพร็ดนิโซโลน (Prednisolone), เมโธเทรกเซท (Methotrexate), เอซาไธโอพรีน (Azathioprine), ไซโคลฟอสฟาไมด์(Cyclophosphamide) และ ไซโคลสปอริน (Cyclosporin)
รักษาโรคทางผิวหนังหลายชนิดเช่น โรคสะเก็ดเงิน (Psoriasis), โรคตุ่มน้ำพอง
โรค Auto immune
การที่ภูมิคุ้มกันร่างกายเข้าทำร้ายเนื้อเยื่อร่างกายของตัวเอง
เพร็ดนิโซโลน (Prednisolone)
ยับยั้งการอักเสบสาเหตุจากการทำงานของระบบภูมิคุ้มกันต้านทานโรคของร่างกาย การอักเสบของกระดูก
ผลข้างเคียง เช่น อ้วน น้ำหนักเพิ่ม ความอยากอาหารเพิ่มขึ้น บวม หน้ากลม
เป็นสิว ผิวแตกลาย
ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้นได้ในบางราย
เมโธเทรกเซท (Methotrexate)
ยาเคมีบำบัดชนิดหนึ่ง การรับประทานยาทุกวันจะเป็นการได้รับยาเกินขนาด เป็นพิษต่อตับ
เอซาไธโอพรีน (Azathioprine)
ยา immunosuppressants มีฤทธิ์กดการทำงานของภูมิคุ้มกัน ใช้บรรเทาอาการในผู้ป่วยโรคข้ออักเสบรูมาตอยด์
ไซโคลสปอริน (Cyclosporin)
นำมาใช้กดภูมิคุ้มกันฯในการปลูกถ่ายอวัยวะ เพื่อป้องกันการปฏิเสธสิ่งปลูกถ่ายในผู้ป่วยปลูกถ่ายอวัยวะ
ผลข้างเคียงที่สำคัญ ได้แก่ ความดันโลหิตสูง และเป็นพิษต่อไต
ไซโคลฟอสฟาไมด์(Cyclophosphamild)
ยาที่อยู่ในกลุ่ม Alkylating agents กระบวนการออกฤทธิ์เพื่อต้านมะเร็ง
นางสาวกัลชิญา อทุมชาย นักศึกษาคณะพยาบาลศาสตร์ชั้นปีที่ 2 UDA6280001