Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การติดเชื้ออื่นๆขณะตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
การติดเชื้ออื่นๆขณะตั้งครรภ์
การติดเชื้อไวรัสรับอักเสบชนิด เอ
อาการและอาการแสดง
ตรวจพบ alkaline phosphatase
ตับเหลืองตัวเหลือง
ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ
เบื่ออาหาร
อ่อนเพลีย
ผลกระทบต่อสตรีตั้งครรภ์และทารก
หากสตรีตั้งครรภ์ติดเชื้อในระยะใกล้คลอด อาจมีการแพร่กระจายเชื้อไปยังทารกนระยะคลอด และระยะหลังคลอดได้
การประเมินและวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
มีไข้ เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ท้องอืด ตัวเหลืองตาเหลือง
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
หา antibody-HAV
IgM-anti HAV
ตรวจการทำงานของตับ
ซักประวัติ
การสัมผัสเชื้อโรค
การขับถ่าย
การรับประทานอาหาร
การป้องกันและการรักษา
ยังไม่มีการรักษาห้หายอย่างเด็ดขาด ส่วนใหญ่รักษาแบบประคับประคองตามอาการที่ปรากฎ
การพยาบาล
อธิบายห้สตรีตั้งและครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรค การรักษา การดูแลตนเองที่เหมาะสม และการการป้องกันภาวะแทรกซ้อน
แนะนำเกี่ยวกับการปฏิบัติตัวดังนี้
พักผ่อนอย่างเพียงพอ
รับประทานอาหารที่สุก สะอาด และย่อยง่าย แลดื่มน้ำให้เพียงพอ
มาตรวจตามนัดทุกครั้ง
หลีกเลี่ยงการใช้ยาที่มีผลต่อตับ หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มแอลกอฮอล์
เกิดจากการติดเชื้อ Hepatitis A virus
กาการติดเชื้อไวรัสรับอักเสบชนิด บี
อาการและอาการแสดง
ระยะแรกอาจไม่มีอาหาร แต่อาจเริ่มด้วยการมีไข้ต่ำๆ เบื่ออาหาร ปวดท้อง คลำพบบตับบโต กดเจ็บ ปัสสาวะสีเข้ม
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อสตรีตั้งครรภ์
เสี่ยงในการคลอดก่อนกำหนด
ต่อทารก
น้ำหนักตัวน้อย
ตายในครรภ์หรือเสียชีวิตหลังเกิด
การพยาบาล
ระยะคลอด
นอนพักอยู่บนเตียง
ประเมินการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ ติดตามความก้าวหน้าของการคอด
หลีกเลี่ยงการเจาะน้ำคร่ำ และการตรวจทางช่องคลอด
ระยะหลังคลอด
ไม่จำเป็นต้องให้งดให้นมมารดาแก่ทารก
แนะนำให้ทารกมารับวัคซีนเพื่อป้องกันโรคไวรัสตับอักเสบบี
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ว่าเป็นพาหะของโรคหรือไม่
ให้คำแนะนำแก่สตรีตั้งครรภ์ การติดต่อ และการแพร่กระจายเชือ
ให้สตรีตั้งครรภ์ตระหนักถึงความสำคัญของการมาตรวจตามนัด
แนวทางการป้องกันและการรักษา
คัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย
การประเมินและวินิจฉัย
ตรวจร่างกาย
พบอาการและอาการแสดง
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ตรวจการทำงานของตับ
ตรวจหา antigen และ antibody
ซักประวัติ
การเป็นพาหะของโรค
เคยสัมผัสกับคนที่เป็นโรค
เกิดจากการติดเชื้อ Hepatitis B virus
หัดเยอรมัน
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อทารก
แท้ง
ตายคลอด
พิการแต่กำเนิด
สตรีตั้งครรภ์
ไม่สุขสบายเล็กน้อย
การป้องกันและการรักษา
ให้ภูมิคุ้มกัน
ทารกแรกเกิดที่เกิดจากมารดาติดเชื้อหัดเอรมัน ภายหลังคลอดต้องเก็บเลือดจากสายสะดือส่งตรวจ
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำๆ คลั่นเนื้อครั่นตัว ตาแดง ไอ เจ็บคอ ต่อมน้ำเหลืองบริเวณหลังใบหูโต
การพยาบาล
แนะนำให้มาฝากครรภ์อย่างสม่ำเสมอ
อธิบายข้อมูลเกี่ยวกับการตรวจ การดำเนินโรค การรักษาพยาบาล
ให้วัคซีนเพื่อป้องกันการติดเชื้อ
เกิดจากการติดเชื้อ rubella virus
สุกใส
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อสตรีตั้งครรภ์
ปอดอักเสบ ปอดบวม
ชัก หรือเสียชีวิตได้
ต่อทารก
คลอดก่อนกำหนด
การป้องกันและการรักษา
ไม่สัมผัสโรค หลีกเลี่ยงคนที่ป่วยเป็นสุกใส
รักษาแบบประคับประคอง
รักษาแบบเจาะจง โดยใช้ยาต้านไวรัสสุกใส
อาการและอาการแสดง
มีไข้ต่ำๆ มีผื่น และตุ่ม มักขึ้นตามไรผม
การพยาบาล
ระยะก่อนการตั้งครรภ์
แนะนำห้สตรีตั้งครรภ์ได้รับการฉีดวัคซีนป้องกันสุกใสก่อนการตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำให้พักผ่อนอย่างเต็มที่ และรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง วิตามินซีสูง
ระยะคลอด
ดูแลโดยเน้นหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
กรณีที่มารดามีอาการ ให้แยกทารกแรกเกิดจากมารดา 5 วันหลังคลอด
แนะนำการรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง วิตามินซีสูง
ดูแลให้ได้รับวัคซีน VariZIG แก่ทารกแรกเกิดทันที
เกิดจากการติดเชื้อ Varicella-zoster virus
โรคติดเชื้อไซเมกะโรไวรัส
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อสตรีตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
เสี่ยงต่อการแท้ง
ติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ
ต่อทารก
เสี่ยงต่อ IUGR
แท้ง
คลอดก่อนกำหนด
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
ทารกเสียชีวิตนครรภ์
ตายคลอด
การป้องกัน
สตรีที่เคยมีการติดเชื้อ ควรวางแผนเว้นระยะการมีบุตรไปก่อนอย่างน้อย 2 ปี
ได้รับวัคซีน
อาการและอาการแสดง
ไข้สูงนาน
ปอดบวม
ปวดกล้ามเนื้อ
ตับอักเสบ
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ซักประวัติ เพื่อคัดกรองสตรีตั้งครรภ์ทุกราย
แนะนำให้ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ เช่น งดมีเพศสัมพันธ์ หรือใช้ถุงยางอนามัยขณะมีเพศสัมพันธ์
ระยะหลังคลอด
เน้นย้ำห้การรักษาความสะอาดและการมาตรวจตามนัดหลังคลอด
งดให้นมมารดา หากมารดาหลังคลอดมีการติดเชื้อ
ระยะคลอด
ดูแลโดยเน้นหลัก Universal precaution
การรักษา
การให้ยาต้านไวรัส
การห้ Immunoglobulin ของ anti-CMV
การติดเชื้อโปรโตซัว
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อสตรีตั้งครรภ์
คลอดก่อนกำหนด
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
แท้ง
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ต่อทารก
ไข้ ชัก ทารกหัวบาตร ตาและตัวเหลือง ตับม้ามโต
เสียชีวิตหลังคลอด
การป้องกันและการรักษา
เมื่อต้องห้การดูแลสวนหญ้า แนะนำให้ใส่ถุงมือยาง และล้างมือให้สะอาดทุกครั้ง
หลีกเลี่ยงการรับประทาอาทาอาหารที่ไม่ปรุงสุก ผักผลไม้ที่ไม่ผ่านการล้าง ไข่ดิบ
อาการและอาการแสดง
อ่อนเพลีย ปวดกล้ามเนื้อ อาการรุนแรงจะพบนผู้ที่มีภูมิคุ้มกันบกพร่อง
การพยาบาล
ติดตามผลการตรวจเลือด
แนะนำเกี่ยวกับการสัมผัสเชื้อ
ให้ความรู้ความเข้าจเกี่ยวกับโรค
ให้การดูแลโดนเน้นหลัก Universal precaution
ภายหลังการคลอดเช็ดตาด้วย 0.9%NSS เช็ดตาทันที
ระยะหลังคลอด
เฝ้าระวังการตกเลือดและการติดเชื้อหลังคลอด
แนะนำให้เน้นการรักษาความสะอาด การมาตรวจตามนัด สังเกตอาการผิดปกติแล้วรีบมาพบแพทย์ทันที
การติดเชื้อไวรัสซิก้า
การป้องกัน
ระบบเฝ้าระวังการระบาดวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทางกีฎวิทยา
ระบบเฝ้าระวังทารกที่มีความพิการแต่กำหนด
ระบบเฝ้าระวังกลุ่มอาการผิดปกติทางระบบประสาท
การรักษา
ปัจจุบันยังไม่มีวัคซีนป้อกัน
รักษาโดยให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ ดื่มน้ำมากๆ และรักษาตามอาการ
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อสตรีตั้งครรภ์
มีไข้ หนาวสั่น ไม่สุขสบาย ตัวตาเหลือง ชา ต่อมน้ำเหลืองโต
ผื่นขึ้นระกหว่างตั้งครรภ์
ต่อทารก
IUGR
ทารกตายในครรภ์
ตายหลังคลอด
การพยาบาล
ให้การดูแลโดยเน้นหลัก Universal precaution
ตรวจร่างกายและระเมินสภาพทารกแรกเกิด
ให้คำแนะนำในการป้องกันสาเหตุและปัจจัยที่ทำห้เกิดโรค
ดูแลเน้นย้ำให้มารดารัปประทานอาหารที่มีโปรตีนและวิตามินสูง
อาการและอาการแสดง
มีไข้ ผื่นแดง ปวดเมื่อยตามตัว ปวดข้อ เยื่อบุตาอักเสบ ตาแดง
โรคโควิด-19 กับสตรีตั้งครรภ์
ผลกระทบต่อการตั้งครรภ์
ต่อสตรีตั้งครรภ์
ถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด
รกเสื่อม
เสี่ยงต่อการคลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ต่อทารก
น้ำหนักตัวน้อย
คลอดก่อกำหนด
IUGR
แนวทาการรักษา
อาการรุนแรง
ยุติการตั้งครรภ์
ให้ยาต้านไวรัส
ให้ออกซิเจนทาง face mask
การดูแลกรณีฉุกเฉิน
ดูแลขณะเจ็บครรภ์คลอด
กรณีเจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด
ติดเชื้อแต่อาการไม่รุนแรง
ให้ยาต้านไวรัส
ดูแลทารกแรกเกิด
กรณีสงสัยว่าเป็นโควิด
ห้ามใช้ยากลุ่ม NSAIDs
ดูแลมารดาหลังคลอด
ดูแลด้านจิตใจ
อาการและอาการแสดง
T 37.5 อศาเซลเซียสขึ้นไป
ไอ น้ำมูก เจ็บคอ หายจติดขัด หรือหายใจลำบาก
การพยาบาล
ดูแลและการพยาบาลสตรีตั้งครรภ์และมารดาหลังคลอดเพื่อป้องกันการติดเชื้อโควิด-19
ดูแลทารกแรกเกิดนกรณีแม่ผู้สงสัยว่าติดเชื้อ
ดูแลสตรีตั้งครรภ์ มารดาหลังคลอด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากประเทศกลุ่มเสียง
แนะนำการปฏิบัติตัวสำหรับมารดาหลังคลอด ในกรณีแม่ผู้สงสัยว่าติดเชื้อ