Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
อาการและอาการแสดงของ
ภาวะขาดออกซิเจน
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ระดับการมีสมาธิลดลง
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
วิตกกังวล (anxiety)
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น
มีภาวะซีด
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
มีอาการเขียวคล้า
ความดันโลหิตลดลง
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุูม
ช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก
อาการหายใจลาบาก
วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
ลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง
ช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจ หัวใจ
และระบบการไหลเวียนโลหิต
รักษาภาวะพร่องออกซิเจนโดยวิธีการเพิ่มปริมาณ
ออกซิเจนในถุงลมปอด และกระแสเลือด
ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
ภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
ในการทำผ่าตัด
ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ป่วยที่ได้รับพิษจาก paraquat
ขณะทำผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ
ควรจากัดความเข้มข้นของออกซิเจนที่ใช้ในต่ำที่สุด เพื่อหลีกเลี่ยงการติดไฟ
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจนโดยเฉพาะการให้ความชื้นแบบ nebulizer
เกิดภาวะปอดแฟบ (lung atelectasis) ออกซิเจนเป็นพิษ (oxygen toxicity)
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน บริเวณที่เกิดไฟไหม้จะทาให้ขบวนการติดไฟ
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ป่วยที่หายใจเอง
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
ตรวจดูสายยาง ความชื้น ความสะอาด ออกซิเจน
ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ
(Clear air way)
การจัดท่านอน ท่านั่ง การดูดเสมหะและการสอนวิธีการใช้ที่ถูกต้อง
หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วย
ตรวจวัดสัญญาณชีพ ความผิดปกติต่างๆ
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก 2 - 3 ชั่วโมง
จิบน้ำ การทำความสะอาดช่องปาก
ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่าง ๆ
ระบบการให้ออกซิเจน
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่า
(Low flow system)
การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula)
การให้ออกซิเจน
ทางหน้ากาก (mask)
Reservoir bag (partial rebreathing mask) ให้ความเข้มข้นสูงกว่าร้อยละ 60–90
Non rebreathing mask ลักษณะคล้าย partial rebreathing ยกเว้นรูระบาย
อากาศส่วนหน้ากากลักษณะเป็นลิ้นไหลทางเดียว (unidirectional valve)
Simple mask เป็นชนิดที่ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 40-50
ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง
(High flow system)
การให้ออกซิเจนชนิดT- piece
การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)
การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ (endotracheal tube: ET)
การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
ชนิดละอองโต (Bubble)
ส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30 – 40 %
ชนิดละอองฝอย (Jet)
เหมาะกับผู้ป่วยที่มีเสมหะเหนียว
ภาวะบ่งชี้ในการรักษาด้วยออกซิเจน
ความกดบรรยากาศสูง
การติดเชื้อและมีการตายของเนื้อเยื่อ
โลหิตจางเนื่องจากเสียเลือดจานวนมาก
โรคแผลเรื้อรัง (chronic wounds)
การติดเชื้อเรื้อรังของเยื่อหุ้มกระดูก
โรคที่เกิดจากความดัน
การปลูกถ่ายผิวหนังและกล้ามเนื้อ
การบาดเจ็บของเนื้อเยื่อเนื่องจากการถูกบดขยี้
การได้รับบาดเจ็บจากรังสี
การติดเชื้อของเนื้อเยื่อจากแบคทีเรียที่ไม่ใช้ออกซิเจน
แผลไหม้จากความร้อน
โรคคาร์บอนมอนน็อคไซด์เป็นพิษ
โรคฝีในสมอง
โรคฟองแก๊สอุดตันในหลอดเลือดแดง
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
ระบบท่อ (Oxygen pipeline)