Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 การปรับตัวของร่างกายในภาวะที่มีพยาธิสภาพในระบบประสาท - Coggle…
บทที่4 การปรับตัวของร่างกายในภาวะที่มีพยาธิสภาพในระบบประสาท
ความผิดปกติของวิถีรับความรู้สึกที่ผิวหนัง
อาการ 1.ทำลาย
เส้นประสาทส่วนปลาย(Peripheral nerve)
เกิดจากวิถีประสาทขนาดใหญ่ถูกทำลายก่อน
ความเจ็บปวด เช่น neuralgia ใน herpes zoster (ตาม nerve distribution)
ความรู้สึกสัมผัสผิดปกติ เช่น ชา ร้อนผ่าว (ตาม nerve distribution)
รับความรู้สึกเสียทั้งหมด เช่น เสีย posterior column จะไม่รับรู้สัมผัส ท่าทาง แรงสั่นสะเทือน แยก2 จุดไม่ได้แต่ยังรับ pain,temperature ได้
อาการ 2. ทำลาย
รากประสาทรับความรู้สึก
หมอนรองกระดูกเสื่อม(Disc herniation)
แสบร้อนในงูสวัด(neuralgia ใน herpes zoster) ตามnerve distribution
ขึ้นกับDermatome ที่เลี้ยงระดับนั้นของลำตัว
ความเจ็บปวดจากรากประสาท(root pain)
1.Refer pain การปวดแบบพื้นที่ผิวลึก พยาธิสภาพจริงอยู่ที่อวัยวะภายใน
2.Root pain ปวดมากเมื่อ เบ่ง ไอ จาม
3.รากประสาทตึงตัวอาการปวดสัมพันธ์กับท่าทาง เช่นการกระดกข้อเท้า การเหยียดข้อสะโพกและงอเข่า(femoral stretch sign)
อาการ 3. ทำลายไขสันหลัง (spinal cord)
ขึ้นกับต่ำแหน่งที่เสียหาย มีผลต่อ motor,sensory รอยโรคต่ำกว่า Lesion จึงเสียระดับต่ำกว่า
เสีย posterior column ไม่รับรู้จากข้อต่อ ไมรู้ต่ำแหน่งเท้าขณะหลับ เดินเซ
อาการ 4. ทำลายระดับก้านสมอง
การทำลายก้านสมองซีกหนึ่ง
เสีย sensory ของใบหน้าด้านเดียวกัน แต่เสีย motor ด้านตรงข้าม
อาการ 5. ทำลายระดับทาลามัส
เสีย sensory ของร่างกายด้านตรงข้าม เสียท่าทาง
อาการ 6. ทำลายระดับ cerebral cortex
เกิด agnosia ไม่เข้าใจ ไม่สามารถแปลผลได้ เช่นจับสิ่งของได้ แต่บอกขนาดรูปร่างไม่ได้ ไม่รู้ท่าทาง
ความเจ็บปวด(pain)
วิถีประสาทความเจ็บปวด(pain pathway)
1.Peripheral pain pathway
A delat fiber; มี myelin หุ้ม กระแสเข้า posterior gray horn
C fiber; ไม่มี myelin หุ้ม พบที่ visceral organs
2.Central pain pathway
Posterior column ทำให้เกิดreflex งอเข้าลำตัว
Spinothalamic
Lateral A delta
Medial
Anterior
ระบบควบคุมความเจ็บปวดภายใน(pain modulating system)
Frontal lobe และ Hypothalamus
กลุ่มเซลล์ Gray matter ทางผ่าน CSF ในโพรงสมอง 3 และ 4
เข้าสู่เซลล์ประสาทรับความรู้สึกด้านหลังและด้านข้างไขสันหลัง
เซลล์ในก้านสมองส่วนล่าง
เข้าสู่เซลล์ประสาทรับความรู้สึกที่ด้านหลังและด้านข้างไขสันหลัง
Substantia gelatinosa หลั่งสารลดปวด
ปล่อยสารยับยั้งความเจ็บปวด เช่น serotonin,GABA,norepinephrine,endorphin เป็นต้น ออกฤทธิ์ที่เซลล์ประสาทก้านสมองส่วนล่าง
กลไกการเกิดความเจ็บปวด
1.ทฤษฎีจำเพาะ
มี
free nerve ending
เปลี่ยนสารเคมีเป็นกระแสประสาทลงไปตาม
A delta
และ
C
เข้า
spinal cord
ขึ้นไปตาม
lateral spinothalamic tract
สู่
brain stem
2.ทฤษฎีรูปแบบ(ไม่จำเพาะเจาะจง)
ตัวรับความรู้สึกปวดอยู่ที่ปลายประสาทถูกกระตุ้นขึ้นกับความถี่ ระยะเวลา บริเวณที่ถูกกระตุ้น
3.ทฤษฎีควบคุมประตู
ประตูปิด
กลไกควบคุมประตูอยู่ที่ spinal cord โดย SG ทำหน้าที่ควบคุมไม่ให้มีการผ่านของกระแสประสาทเข้าT-cell จึงไม่เกิดการส่งต่อไปสมอง
ประตูเปิด
ถ้าใยประสาทขนาดเล็กมีมากกว่าจะยับยั้ง SG cell ทำให้กระตุ้น T-cell ส่งไปยังสมอง
ผลของความเจ็บปวด
1.กระตุ้นการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติ ทั้งกระตุ้น sym และยับยั้ง parasympathetic
2.กระตุ้นการหลั่งADH,aldosterone และ cortisol ไตดูดน้ำกลับ สลาย giucoseเพิ่มขึ้น
3.หากกระตุ้นบ่อยจะยับยั้ง sym และกระตุ้น parasymแทน
4.กล้ามเนื้อหดเกร็ง เกิดกรดแลคติค