Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
จุดประสงค์ทางการศึกษา - Coggle Diagram
จุดประสงค์ทางการศึกษา
เป้าหมายของการศึกษา
เน้นนักเรียน
ตรวจสอบความต้องการของนักเรียน
พฤติกรรมที่คาดหวัง
แนวคิดของจุดประสงค์ทางการศึกษา
แฮวิคเฮอร์สท์ (Havinghurst)
โรงเรียนมีความมุ่งหมายที่จะช่วยนักเรียนให้มีความเจริญงอกงามไปในทิศทางที่เหมาะสมและพึงพอใจ
อาห์เรนส์ (Ahrens)
หน้าที่หลักของการศึกษา คือการส่งเสริมและพัฒนา
ความเป็นประชาธิปไตยให้นักเรียน
ไทเลอร์ (Tyler)
ฝึกอบรมนักเรียนไปในทิศทางที่จะช่วยสนองความต้องการที่พึงพอใจของเขา
การจำแนกวัตถุประสงค์ทางการศึกษาตามหลักอนุกรมวิธาน
ประโยชน์
ครูกำหนดวัตถุประสงค์การเรียนการสอนให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการศึกษา
ครูจัดลำดับวัตถุประสงค์ให้เหมาะกับกาารเรียนการสอน
จัดลำดับการเรียนรู้จากง่ายไปยาก
ความหมาย
การจำแนกสิ่งของตามคุณลักษณะต่างๆ พร้อมทั้งบอกความสำคัญ
มี 3 ปริเขต
ปริเขตที่ 2 : จิตพิสัย
(Affective Domain)
1.การตั้งใจรับรู้
( Attending)
รู้ตัว
เต็มใจที่จะรับรู้
เลือกรับรู้
2.การตอบสนอง
(Responding)
ยอมรับที่จะตอบสนอง
เต็มใจในการตอบสนอง
พอใจในการตอบสนอง
3.การให้คุณค่า
(Valuing)
ยอมรับในคุณค่า
พึงพอใจในคุณค่า
ทำตามคุณค่า
4.การจัดลำดับความคิด
(Organization)
สร้างมโนทัศน์ในคุณค่า
จัดระบบคุณค่า
5.การจำแนกคุณลักษณะจากคุณค่าต่างๆ ที่ซับซ้อน
(Characerization by a Value or Value Complex)
สรุปคุณค่าออกเป็นแต่ละชุด
จำแนกลักษณะเฉพาะออกจากกัน
ปริเขตที่ 3 : ทักษะพิสัย
(Psychomotor Domain)
3.ความสามารถในการรับรู้
(Perceptual Abilities)
การงอเข่า
สัมผัสว่าหยาบ เรียบ อ่อน
กระพริบตา
4.สมรรถภาพทางกาย
(Physical Abilities)
การวิ่งแข่ง
การยกน้ำหนัก
2.การเคลื่อนไหวขั้นพื้นฐาน
(Basic fundamental Movements)
วิ่ง
การเล่นเปียโน
พิมพ์ดีด
5.การเคลื่อนไหวที่ต้องอาศัยทักษะ
(Skiled Movements)
การเลื่อยไม้
การตีแบดมินตัน
เล่นยิมนาสติก
1.การเคลื่อนไหวเชิงกิริยาสะท้อน(Reflex Movements)
การเคลื่อนไหวของแขนและขา
การทรงตัว
6.การสื่อสารที่ต้องใช้ทักษะระดับสูงในการแสดงออก
(Non-Discursive Communication)
มีความสุข :ยิ้ม
ปริเขตที่ 1 : พุทธิพิสัย
(Cognitive Domain)
1.ความรู้
(Knowledge)
เฉพาะเรื่อง
ข้อเท็จจริงเฉพาะ
ศัพท์เฉพาะ
แนวทางและวิธีการจัดการกับปัญหาเฉพาะ
วิธีการ
เกณฑ์
แนวโน้มและลำดับขั้นตอนตามเหตุและผล
แบบแผนนิยม
หลักการทั่วไปและความรู้ที่เป็นนามธรรมในสาขาวิชา
หลักการและข้อสรุปทั่วไป
ทฤษฏีและโครงสร้าง
การจำแนกและจัดประเภท
2.ความเข้าใจ
(Comprehension)
การแปลความหมาย
(Translation)
การตีความ
(Interpretation)
การขยายความ
(Extrapolation)
3.การนำไปใช้
(Application)
4.การวิเคราะห์
(Analysis)
องค์ประกอบ
ความสัมพันธ์
หลักการ
5.การสังเคราะห์
(Synthesis)
เพืื่อสื่อความหมาย
ความสัมพันธ์เชิงนามธรรม
เพื่อการวางแผนโครงการ
6.การประเมินผล
(Evalution)
ตัดสินคุณค่าโดยใช้เกณฑ์ภายใน
ตัดสินค่าโดยใช้เกณฑ์ภายนอก
วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ความหมาย
พฤติกรรมของผู้รียนที่ต้องแสดงออกให้สังเกตได้หรือวัดได้
ความสำคัญ
สร้างแบบสอบ
พัฒนาหลักสูตร
ประเมินผู้เรียน
ลักษณะเฉพาะที่สำคัญของวัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
ความหมาย
ความสามารถเชิงปฏิบัติของนักเรียนที่คาดหวังไว้จาก
กระบวนการเรียนการสอน
มี 3 ประการ
เฉพาะเจาะจง และชัดเจน
สังเกตหรือวัดได้
เกณฑ์ซึ่งเป็นที่ยอมรับได้
ขีดความสามารถของนักเรียน
มีการอธิบายเงื่อนไข
การจำกัดเวลาในการสอบ
ความหมาย
ข้อความที่ระบุคุณลักษณะการเรียนรู้และความสามารถที่ครูต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียน