Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
(Cerebellum) ซึ่งทำหน้าที่ร่วมกับระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลายในการควบคุมก…
-
(Cerebellum) ซึ่งทำหน้าที่ร่วมกับระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลายในการควบคุมการทรงตัวและการเคลื่อนไหวของมนุษย์ โดยสมองน้อยจะส่งกระแสประสาทผ่านไขสันหลังไปควบคุมกล้ามเนื้อต่างๆ เมื่อสมองน้อยเกิดความเสื่อม จึงทำให้มีปัญหาเรื่องการทรงตัว
-
-
-
Pyramidal system คือ ระบบควบคุมประสาทสั่งการเริ่มตั้งแต่ primary motor area (frontal lobe Brodmann's area 4 -> corticospinal tract มีหน้าที่สั่งการเส้นประสาทกล้ามเนื้อให้เกิดการเคลื่อนไหว (อยู่ในอำนาจจิต) เมื่อมีพยาธิสภาพจะทำให้เกิดอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อที่สั่งการทั้งหมด (มักเป็นทั้งข้างหรือสองข้า
Pyramidal
extrapyramidal system เป็นส่วนของเครือข่ายระบบ ประสาทสั่งการซึ่งก่อการเคลื่อนไหวนอกอำนาจจิตใจ ... tract บางส่วน) อาจส่งเส้นประสาท ไปยังเซลล์ประสาทสั่งการล่างในไขสันหลัง
-
-
-
-
-
-
-
อาการสั่นที่เกี่ยวกับระบบการทรงตัวในสมองน้อยหรือ Cerebellum (ซีรีเบลลัม) ที่ผิดปกติ โดยจะสั่นเวลาที่มีการเคลื่อนไหวของมือไปแตะกับวัตถุ และสั่นมากเวลาที่มือหรือนิ้วเข้าใกล้วัตถุ กลุ่มนี้เรียกว่า Essential Tremor
-
-
-
-
-
-
-
รอยโรคที่ LMN หมายถึง ลวามผิดปกติท่ี
Anterior horn cell 2. Nerve root, Nerve plexus, Peripheral nerve 3. Neuromuscular junction
อาจไม่รุ่นแรงเท่าUMN
-
-
-
- Fasciculation: การกระตุกของ Muscle fibers (ไม่นช่กระตุกของกล้ามเนือทังมัด จึงไม่เหน็ การ เลลื่อนไหว)อาจเห็นกล้ามเนือจุดเล็กๆ กระตุกไม่เป็นจังหวะ หรือไม่เห็น
-
-
-
ความผิดปกติที่ตําแหน่งของ neuromuscular junction ที่พบได้บ่อยที่สุด ลักษณะที่. จํา เพาะของโรคนี้คือ มีการเปลี่ยนแปลงความรุนแรงของอาการได้ในแต่ละช่วงเวลาของวัน.
-
-
-
- ทำลายไขสันหลัง (spinal cord)
-
- ทาลายระดับ ทาลามสั (thalamus)
- ทาลายระดับ cerebral cortex
- ทฤษฎีจาเพาะ: มี free nerve ending เปลี่ยนสารเคมีเป็นกระแส ประสาทลงไปตาม A delta และ C เข้า spinal cord ข้ึนไปตาม
- ทฤษฎีรูปแบบ : ตัวรับ ความรู้สึกปวดอยู่ที่ ปลาย ประสาท ถูกกระตุ้นข้ึนกับ ความถี่
3.ทฤษฎีควบคุมประตู
กลไกควบคุมประตูอยู่ท่ี spinal cord โดย SG ทาหน้าที่ควบคุมไม่ให้มีการผ่านของกระแส ประสาทเข้า T cell
- กระตุ้นการทางานของระบบประสาทอัตโนวัติ ท้ังกระตุ้น sym. และยับยั้งparasympathetic
- กระตุ้นการหลั่ง ADH, aldosterone และ cortisol ไตดูดน้ากลับ สลาย glucose เพิ่มขึ้น
- หากกระตุ้นบ่อยจะยับยั้งsym และกระตุ้น parasym แทน
- กล้ามเน้ือหดเกร็ง เกิดกรดแลคติก
-
ทินศรีอัษฎาพร,วรรณีนิธยิานันท์.บรรณาธิการ.(2548).การปรับตัวของร่างกายสในสภาวะที่มีสภาพระบบประสาทDiabetesMellitus. กรุงเทพฯ : เรือนแก้วการพิมพ์.
-
พวงทอง ไกรพิบูลย์. (2554). การปรับตัวสภาวะระบบประสาท. กรุงเทพฯ : อมรินทร์พร้ินต้ิงแอนด์พับลิช จํากัด แห่งประเทศไทย. (2558). แนวทางการรักษารในเวช