Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Human’s response concept - Coggle Diagram
Human’s response concept
แนวคิดปฏิกิริยาตอบสนองของมนุษย์
ปฏิกิริยาตอบสนองของมนุษย์
พฤติกรรมที่เกิดขึ้นเนื่องจาก ต้องเผชิญกับเหตุการณ์ หรือสถานการณ์ สิ่งเร้า มากระตุ้น ทำให้ร่างกายและจิตใจรักษาสมดุล
ปฏิกิริยาตอบสนองของมนุษย์ต่อความเครียดของชีวิตและความทุกข์ทรมาน
ปฏิสัมพันธ์กับสิ่งที่อยู่รอบๆตนเองและการสัมผัสติดต่อกับความเป็นจริงภายในตนเอง ตอบสนองภาวะตรึงเครียดของชีวิต ใน 4 กลุ่ม คือ ด้านจิตใน,สรีรวิทยา,สังคม, จิตวิญญาณ
การตอบสนองทางสีรรวิทยา (Physiological reponse)
ความผิดปกติทางจิตสรีรวิทยาที่ผิดปกติ เช่น หอบหืด แผลในกระเพาะอาหาร ความดันโลหิตสูง หรือไมเกรน
การปรับตัวของ Neuro-hormonal ตอบสนองต่อคว่ามเครียด เช่น หลั่งฮอร์โมน ACTH,Endocine,Norepinphine
การตอบสนองสนองทางสังคม (Social response) มีแตกต่างกันขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมและคุณค่าทางสังคมและทัศนคติ
1.การตอบสนองด้านจิตใจ (Psychological response)
การปรับตัวของการตอบสนอง (Adaptation response) สัญชาตญาณและการตอบสนองต่อระบบประสาทและสรรีรวิทยา
ปฏิกิริยาการตอบสนอง (Reactive respones) การตอบสนองที่ไม่เหมาะสม ได้แก่ ความวิตกกังวล กลัว เศร้าโศก สิ้นหวัง ซึมเศร้า
4.การตอบสนองทางจิตวิญญาณ (Spiritual response) ภายใต้ความเครียดของธรรมชาติที่หลากหลายและความรุนแรง อาจพบการตอบสนองทางจิตวิญญาณ ได้แก่
สามารถรับความเจ็บปวดและความทุกข์ทรมานสูงขึ้น
มีจิตสำนึกแห่งความอ่อนแอและความไม่สมบูรณ์
การพึ่งพาความเชื่อส่วนบุคคลมากชึ้น
มีความตระหนักถึงแหล่งที่มาสูงสุดของพลังและความสมบูรณ์แบบ
ยึดมั่นในการอธิฐานและการทำสมาธิ
มีการเพิ่มวัตถุประสงค์ในชีวิต
Life stress
Stress : Eustress
เชิงบวก (+)
มีคุณค่า
นำไปสู่ความผาสุก (Well-being) มีชีวิตการเป็นอยู่ดีขึ้น
ความเครียดที่เกิดจากความสุข
Stress : Distress
เป็นเชิงลบ (-)
ความเครียดที่เกิดจากความไม่พึ่งพอใจ/อันตราย
ทำให้เกิดความไม่สุขสบายและความตรึงเครียด
การเผชิญความเครียด (Coping)
กระบวนการที่ใช้จัดการกับความเครียด ซึ่งกระบวนการนี้อาจเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ของบุลคลและสิ่งเเวดล้อม มีการเผชิญของบุคคล การจัดการกับอารมณ์ และมุ่งแก้ไขปัญหา
ประเภทของการเผชิญความเครียด
วิธีการแก้ไขตามปัญหา (Problem Oriented coping Strategies) แก้ไขปัญหา โดยใช้สติ ความสามารถของตนเอง
วิธีการแก้ไขอารมณ์เป็นทุกข์ () ลดหรือบรรเทาความไม่สบายใจ เกิดจากความเครียด รักษาสมดุลภายในจิตใจไว้
การพยาบาลผู้ที่มีความเครียด
แนะผู้ป่วยในการจัดการกับความเครียด โดยค้นหาสาเหตุของความเครียด ชี้แนะให้ทราบผลของการมีความเครียด เช่น ต่อร่างกาย และจิตใจ พยายามลดความเครียดด้วยวิธีต่างๆ เช่น ออกกาลังกาย
ประเมินสถานการณ์ความเครียดของผู้ป่วย เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการนามา วางแผนเพื่อช่วยเหลือให้ผู้ป่วยสามารถจัดการกับความเครียดได้อย่าง เหมาะสม
นกรณีที่ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ซึ่งอาจมีแผลในกระเพาะอาหารจาก ความเครียดได้ (Stress ulcer) พยาบาลต้องประเมินเพื่อหาภาวะ ดังกล่าว และรายงานแพทย์เพื่อช่วยเหลือต่อไป
ในรายที่ผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับความเครียดด้วยตนเองได้ เช่น ความเครียดที่มีสาเหตุมาจากความเจ็บป่วย ควรดูแลช่วยเหลือเพื่อ บรรเทาความเจ็บป่วยนั้น
ประเมินผลลัพธ์ที่ออกมา ที่แสดงถึงการปรับตัวต่อ ความเครียดได้
การทำหน้าที่ในสังคม
มีขวัญและกาลังใจที่ดีอันเป็นผลทางอารมณ์ ซึ่งมักเกิด เฉพาะในเหตุการณ์ที่เผชิญ และเปลี่ยนไปตามการเปลี่ยนแปลง ของเหตุการณ์
ทฤษฎีการตอบสนองต่อความเครียดของ Selye
กลุ่มอาการปรับตัวเฉพาะที่ (Local Adaptation Syndromr : LAS )
เป็นการปรับตัวเฉพาะที่ ที่ได้รับอันตรายเท่านั้น เช่น เมื่อได้รับการบาดเจ็บ ร่างกายจะมีอาการ แดง บวม ร้อน แต่จะเกิดการเปลี่ยนแปลงระดับเซลล์
กลุ่มอาการปรับตัวทั่วๆไป (General Adaption Syndrome : GAS)
กลุ่มอาการปรับตัวทั่วไป (GAS)
ระบบต่อมไร้ท่อ
2.อัตราการหายใจเพิ่มขึ้น ร่างกายอาจมีภาวะด่างจากCO2ถกูขับ ออกมากเกินไปและมีการสูญเสียน้ำทางลมหายใจมากขึ้น ซึ่งอาจ ทาให้หลอดลมเกิดการระคายเคือง และ ติดเชื้อได้ง่าย
3.มีการหลั่งสารในกระเพาะอาหารเพิ่มขึ้นมีการบีบตัวของกระเพาะและลำไส้ทำให้ปวดท้อง ท้องเสียได้
Aldosterone ทำหน้าที่ย่อยและทำลายสิ่งรุกราน
หัวใจเต้นแรง เร็ว อัตราการเผาผลาญสูงขึ้น ความดันโลหิตเพิ่มขึ้น
ระบบประสาทอัตโนมัติ
เมื่อมีความเครียด Sympathetic ทำให้เกิดความการปลี่ยนแปลงด้านร่างกาย
ลดการไหลเวียนของเลือดในอวัยวะภายในที่ไม่จำเป็น
เพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงกล้ามเนื้อใหญ่
ถ้าระบบประสาท Sympathetic ทำงานมากเกินไป การทำงานของ Sympathetic จะเปลี่ยนเป็น Parasympathetic จะทำงานตรงข้ามกัน
ทำให้กล้ามเนื้อเรียบคลายตัว
ความดันโลหิตและหัวใจเต้นลดลงและการทำงานของอวัยวะทั้งหมดในร่างกายลดลง
กลุ่มอาการที่เกิดขึ้นเนื่องจากมีการปรับตัวของร่างกาย เช่น ต่อมใต้สมอง ระบบประสาทอัตโนมัติ ต่อมไร้ท่อและระบบภูมิคุ้มกันโรค
แบ่งออกเป็น 3 ระยะ
ระยะต่อต้าน ( Resistance stage) ร่างกายปรับภาวะไม่สมดุลของระบบต่างๆ เพื่อรักษาสมดุล ระยะนี้ไม่แน่นอนขึ้นอยู่กับความแข้งแรงของร่างกาย
ระยะหมดกำลัง (Exhaustion stage) ภาวะความเครียดรุนแรงและมีอยู่นาน ร่างกายไม่สามารถรักษาสภาวะสมดุลได้ ระะบบต่างๆอ่อนกำลังลง ทำให้เกิดโรคหรือถึงแก่ความตาย
1.ระยะเตือน (Alarm reaction stage) เป็นระยะที่เกิดขึ้นทันทีทันใด ระบบประสาท Sympathetic กระตุ้นให้ร่างกายเตรียมต่อสู้หรือถอยหนี
การเจ็บป่วยและปฏิกิริยาตอบสนองเมื่อเจ้บป่วย
ความเจ็บป่วย : ภาวะวิกฤต และความเครียด ซึ่งเป็นสิ่งที่ต้องเผชิญภาวะวิกฤตของชีวิตได้ จำเป็นต้องปรับตัวเข้าสู่ภาวะสมดุลใหม่ เหมือนร่างกายที่ปรับสมดุลด้านสรีรวิทยา
ปํญหาที่ผู้ป่วยต้องเผชิญ
ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับความเจ็บป่วยโดยตรง
ปัญหาที่เกี่ยวเนื่องกับเรื่องอื่นๆซึ่งไม่ใช่ความเจ็บป่วยโดยตรง
ปฏิกิริยาทางจิต-สังคมอันเป็นผลกระทบจากความเจ้บป่วยทางกาย (Psychosocial aspect of physical illnesses)