Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา - Coggle Diagram
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษาของครู
สมรรถนะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเพื่อการศึกษา
ควรมีการพัฒนาเครือข่ายทางการศึกษา
การสร้างเครือข่ายในกลุ่มวิชาชีพและความรู้
การเชื่อมโยงเครือข่ายกับชุมชนธุรกิจและสังคม
การเชื่อมโยงเครือข่ายของครูหรือผู้บริหารการศึกษาเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนประสบการณ์การเรียนรู้ทั้งด้านการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ
ควรมรการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านกายภาพ
ไฟฟ้าเข้าถึงทุกโรงเรียน
โทรศัพท์เข้าถึงทุกโรงเรียน
อินเตอร์เน็ตความเร็วสูงเข้าถึงทุกโรงเรียน
ทุกโรงเรียนมีเครือข่ายท้องถิ่น
ในระดับประเทศมีคลื่นความถี่เพื่อการศึกษา
ควรมีการพัฒนาเนื้อหาการเรียน
เร่งจัดหาซอฟต์แวร์ประเภทเนื้อหาที่มีอยู่ในตลาด
เร่งจัดหาซอฟต์แวร์สอนภาษา
เร่งสืบค้นข้อมูลข่าวสารความรู้ที่มีประโยชน์โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่อยู่บนอินเทอร์เน็ต
การตระหนักดีถึงศักยภาพของภาครัฐ
ร่วมจัดตั้งองค์กรเอกชนเพื่อสนับสนุนกิจกรรม
มีส่วนร่วมในฐานอาสาสมัครหรือผู้บริจาคในโครงการเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาต่างๆ
มีส่วนสำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อรองรับความต้องการในตลาดการศึกษา
ควรมีการพัฒนาหลักสูตรการเรียนการสอน
ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนรู้วิทยาศาสตร์สังคมศาสตร์
ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนการสอนทักษะภาษาโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษาอังกฤษ
ปรับปรุงหลักสูตรการเรียนรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศให้ทันสมัยอยู่เสมอ
ควรมีการสร้างความเข้มแข็งเชิงสถาบัน
การจัดตั้งสถาบันเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาแห่งชาติเพื่อวางนโยบายติดตามตรวจสอบและประเมินผล
จัดให้มีศูนย์ประสานงานเพื่อเจรจาต่อรองราคาในการจัดซื้อจัดจ้างอุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
จัดให้มีทุนพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อการศึกษาเพื่อสนับสนุนการดำเนินงานของสถาบันเทคโนโลยีการศึกษาแห่งชาติ
ควรมีการฝึกอบรมครูและบุคลากรทางการศึกษา
ระดับก้าวหน้า
ระดับการประยุกต์ใช้
ระดับพื้นฐาน
ควรมีการส่งเสริมสภาพแวดล้อมที่เอื้ออำนวย
การศึกษาในยุค Thailand 4.0
การพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษ
การส่งเสริมการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์
การรู้เท่าทันสื่อ
องค์ประกอบสำคัญ
การเข้าถึง
การวิเคราะห์
การประเมินค่าสื่อ
การสร้างสรรค์
ขั้นตอน
ขั้นตอนที่1 คือความตระหนักถึงความสำคัญของการเลือกและลดเวลาในการชมโทรทัศน์ เล่นเกม ชมภาพยนตร์ และสื่อแบบต่าง ๆ
ขั้นตอนที่2 การเรียนรู้ทักษะเฉพาะในการวิเคราะห์สื่อ
ขั้นตอนที่3 การค้นหาประเด็นในระดับลึกขึ้น
ความหมาย
คือ การอ่านสื่อให้ออกเพื่อพัฒนาทักษะในการเข้าถึงสื่อ การวิเคราะห์สื่อ การตีความเนื้อหาของสื่อ การประเมินค่าและเข้าใจผลกระทบของสื่อ และสามารถใช้สื่อให้เกิดประโยชน์ได้
องค์ความรู้การเท่าทันสื่อในบริบทของสังคมไทย
การเข้าใจสื่อ
เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นในตัวผู้รับสารหลังจากเปิดรับสื่อไปแล้ว
การประเมินค่า
หลังจากเข้าใจสื่อแล้ว ผู้รับสารควรทำการประเมินค่าสิ่งที่สื่อนำเสนอว่ามีคุณค่ามากน้อยเพียงไร
การวิเคราะห์สื่อ
สิ่งที่สื่อมานำเสนอมีผลกระทบต่อสิ่งต่าง ๆ อย่างไร
รูปแบบการนำเสนอของสื่อ
กลุ่มเป้าหมายของสื่อ
ข้อมูลที่นำเสนอเป็นข้อเท็จจริงหรือความเห็น
ปัจจัยเกี่ยวกับบริบททางสังคม ศีลธรรม ประวัติศาสตร์ ประเพณี ค่านิยม ที่สื่อนำเสนออยู่ในกรอบจรรยาบรรณหรือไม่
วัตถุประสงค์ของสื่อ
การใช้สื่อให้เกิดประโยชน์
เอาสิ่งที่ตนวิเคราะห์ไปใช้ประโยชน์ได้
เลือกรับสื่อเป็น
มีปฏิกิริยาตอบกลับสื่อได้
สามารถส่งสารต่อได้
มิติการรับสื่อ
ตามรูปแบบการสื่อสารของ Berlo ใช้ประสาทสัมผัสทั้ง 5 ที่เป็นสื่อกลางในการผ่านสารจากผู้ส่งสารไปยังผู้รับสาร