Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ - Coggle Diagram
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจนและการดูดเสมหะ
5.บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา(Oxygen therapy)
4 ข้อควรระวังและภาวะแทรกซ้อนที่อาจเกิดขึ้นจากการให้ออกซิเจน
3.ควรระวังการให้ออกซิเจนในผู้ปุวยที่ได้รับพิษ
ขณะท าผ่าตัดด้วยวิธีเลเซอร์ในทางเดินหายใจ
อาจเกิดภาวะปอดแฟบ
ควรระวังการให้ความชื้นร่วมกับออกซิเจนโดยเฉพาะการให้ความชื้น
อาจเกิดภาวะกดการหายใจผู้ปุวยที่หายใจเอง
การมีความเข้มข้นระดับสูงของออกซิเจน
3 ข้อชี้บ่งของการให้ออกซิเจน
เกิดภาวะบาดเจ็บขั้นรุนแรง(severe trauma)
ภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือดชนิดเฉียบพลัน
เสี่ยงต่อการเกิดภาวะ hypoxemia
การให้ออกซิเจนเป็นเวลาช่วงสั้น ๆ
1.มีภาวะขาดออกซิเจนในเลือด
1 อาการและอาการแสดงของภาวะขาดออกซิเจน
อัตราการเต้นของชีพจรเร็วขึ้น
ในช่วงแรกอัตราการหายใจเร็วและลึก
แสดงพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงไป
ความดันโลหิตลดลง
มีอาการวิงเวียนศีรษะคล้ายบ้านหมุน
หัวใจเต้นไม่เป็นจังหวะ
ความอ่อนเพลีย เหนื่อยล้าเพิ่มขึ้น
มีภาวะซีด
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
มีอาการเขียวคล้ำ
ระดับการมีสมาธิลดลง
กรณีเป็นภาวะขาดออกซิเจนเรื้อรัง พบนิ้วปุูม
วิตกกังวล (anxiety) กระสับกระส่าย
อาการหายใจล าบาก
2 วัตถุประสงค์ของการให้ออกซิเจนเพื่อการรักษา
เป็นการลดอาการขาดออกซิเจนเรื้อรัง โดยเฉพาะผู้ปุวยโรคถุงลมโป่งฟอง
เป็นการช่วยการทำงานของระบบทางเดินหายใจหัวใจและระบบการไหลเวียนโลหิต
เป็นการรักษาภาวะพร่องออกซิเจนทำให้ออกซิเจนในเลือดต่ำ
5 การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับออกซิเจน
3.ดูแลทางเดินหายใจโดยท่าทางเดินหายใจ(Clear air way)
2ดูดเสมหะที่ค้างตามท่าทางเดินหายใจเป็นระยะๆ เพื่อปูองกันการอุดตัน
3 สอนการไออย่างถูกวิธี เพื่อให้ระบายเสมหะออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1 การจัดท่านอน ท่านั่ง ให้ผู้ปุวยรู้สึกสบาย
4 กระตุ้นให้ได้รับน้ำอย่างเพียงพอ เพื่อให้น้ าช่วยละลายเสมหะให้ขับออกได้ง่าย
ดูแลความสะอาดของจมูกและปากบ่อยๆ หรือ ทุก2-3 ชั่วโมง
3 ทาริมฝีปากด้วย กลีเซอรีน บอแรกซ์
4 ทำความสะอาดช่องจมูก
2 ถ้าเจ็บคอ ให้ล้างปากด้วยน้ำยา หรือบ้วนด้วยน้ าสะอาดบ่อยๆ
5 ดูแลความสะอาดบริเวณหน้า โดยเฉพาะในผู้ปุวยที่ได้รับ Oxygen mask จะมีเหงื่อออกมาก ควรเช็ด mask
1 ให้จิบน้ำบ่อยๆ
2.หมั่นตรวจดูอุปกรณ์ที่ให้ออกซิเจน
3 ออกซิเจนไม่รั่วจากขวดทำน้ำกลั่นที่ทำความชื้น
4ถ้าเป็นออกซิเจนถัง จะต้องให้มีออกซิเจนอยู่เสมอ
2ขวดทำความชื้นมีน้ำอยู่พอเหมาะไม่มากหรือน้อยจนเกินไป
5 เปลี่ยนและนำอุปกรณ์การใช้ออกซิเจน ไปทำความสะอาดและทำให้ปลอดเชื้อ
1 ตรวจดูสายยาง ให้อยู่ในตำแหน่งที่ถูกต้อง
6ถ้าให้ออกซิเจนจากระบบ pipeline ที่มีรูเปิด (outlet) สำหรับเสียบ flow meter จะต้องดูให้ flow meterเสียบเข้าที่
5.ดูแลด้านจิตใจ เพื่อลดความวิตกกังวลของผู้ป่วยและญาติ
2พยาบาลควรมีความช านาญในการใช้เครื่องมือ
3 แนะน า อธิบายให้ผู้ปุวยรู้จักเครื่องมือต่างๆได้ง่าย
1บอกประโยชน์ของการได้รับออกซิเจน
4 ดูแลควบคุมอัตราการไหของออกซิเจนให้เพียงพอ ไม่ให้ผู้ปุวยอึดอัด
5 สนใจ รับฟังความต้องการของผู้ปุวยอย่างจิงจัง
6ให้เวลาผู้ปุวยในการพูดคุย
1.หมั่นสังเกตและประเมินภาวะของผู้ป่วยเกี่ยวกับ
3ระดับความรู้สึกตัว
4วัดปริมาตรหายใจเข้า-ออกต่อครั้ง
2ความผิดปกติของสีผิว ดูลักษณะบริเวณริมฝีปาก เล็บมือ เล็บเท้า ผิวหนังว่ามีอาการเขียว
1ตรวจวัดสัญญาณชีพ ดูลักษณะ และอัตราเร็วของการหายใจ
5ติดตามผลค่าก๊าซให้ออกซิเจน(Blood gas)
8.กระบวนการพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
การประเมินภาวะสุขภาพ (Health assessment)
การวินิจฉัยทางการพยาบาล (Nursing diagnosis)
การวางแผนการพยาบาล (Planning)
เกณฑ์การประเมินผล
วัตถุประสงค์
การวางแผน
การปฏิบัติการพยาบาล (Implementation)
5.การประเมินผลการพยาบาล (Evaluation
1 ประเมินผลลัพธ์การพยาบาล
.2 ประเมินผลกิจกรรมการพยาบาล
.3 ประเมินผลคุณภาพการบริการ
4.สาเหตุและการพยาบาลผู้ปุวยที่มีอาการ
ผิดปกติของระบบทางเดินหายใจ
.1อาการไอ (Cough)
ลักษณะของอาการไอ
ไอแห้งๆ ไม่มีเสมหะเช่น ไอเนื่องจากมีฝุุนละอองมาก
ไอมีเสมหะ ซึ่งเสมหะที่เป็นหนองมักเกิดจากการติดเชื้อในทางเดินลมหายใจ เช่นโรคปอดบวม
อาการไอเป็นกลไกการตอบสนองของรางกายอยางหนึ่งตอสิ่งผิดปกติในทางเดินหายใจและเปนกลไกปองกันที่สำคัญของรางกายในการกำจัดเชื้อโรค เสมหะหรือสิ่งแปลกปลอมในทางเดินหายใจ อาการไอยังเปนสาเหตที่สำคัญในการแพรกระจายของการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
สาเหตุของการไอ
1.การอักเสบหรือการบวมบริเวณทางเดินหายใจ
ความร้อน -เย็นของอากาศจะท าให้การไอมากขึ้น
ฝุุน ควัน สารเคมี อาหารหรือน้ำที่สำลักเข้าไป
2Hemoptysis
ชนิดของการไอเป็นเลือด
ไอจนมีเลือดปนออกมาคือ มีเสมหะและเลือดปนเป็นเนื้อเดียวกัน
ไอจนมีเลือดออกเป็นสาย มีเลือดเป็นสายปนกับเสมหะ
ไอจนมีเลือดสดออกมาพบในวัณโรคปอด
ไอจนมีเสมหะสีคล้ายสนิม จากมีเลือดเก่าๆ ปนออกมาด้วย
สาเหตุของการไอเป็นเลือด
1.อุบัติเหตุ
2.การอักเสบ
3.เนื้องอก และมะเร็ง
ความผิดปกติของหลอดเลือดและโรคปอดต่างๆ
3Hiccup
สาเหตุของอาการสะอึก
สาเหตุหรือปัจจัยเสี่ยงที่พบบ่อย เช่นกินอิ่มมากเกินไปดื่มเครื่องดื่มพวกที่ท าให้เกิดแก๊ส (Carbonate)ดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์สูบบุหรี่จัดหรือมีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิของกระเพาะอาหารทันที
4 Dyspnea
สาเหตุของการหายใจลำบาก
2.สาเหตุเกี่ยวกับหัวใจเช่นการทำงานของหัวใจไม่ดี
3.สาเหตุเกี่ยวกับประสาท ทำให้การควบคุมการหายใจไม่ดี เช่น โรคไขสันหลังอักเสบ
1.สาเหตุเกี่ยวกับทางเดินหายใจ เช่น ทางเดินหายใจอุดกั้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการหายใจลำบาก
ดูแลให้ผู้ปุวยนอนศีรษะสูง และให้ออกซิเจนร่วมด้วย
เตรียมอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ สำหรับช่วยเหลือผู้ปุวยฉุกเฉิน
2.ดูแลประคับประคองด้านจิตใจ
ดูแลให้ยาขยายหลอดลม หรือยาขับเสมหะ ตามแผนการรักษา
ดูแลให้ออกซิเจนชนิดละอองฝอย (nebulizer)เพื่อให้หายใจสะดวก
ฝึกให้ผู้ปุวยหายใจและการไออย่างมีประสิทธิภาพ
5 Chest pain
อาการเจ็บหน้าอกมีลักษณะแตกต่างกันตามสาเหตุดังนี้
3) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจาก เยื่อหุ้มหัวใจอักเสบมักเป็นตรงบริเวณหัวใจ
4) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากหัวใจเช่นภาวะหลอดเลือดแดงหัวใจโคโรนารี
2) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากเยื่อหุ้มปอดอักเสบ
5) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากหลอดลมอักเสบ
1) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากกล้ามเนื้ออักเสบ
6) อาการเจ็บหน้าอกสาเหตุจากเส้นประสาทเช่นโรครากประสาทสันหลัง
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บหน้าอก
1.สังเกตอาการควรแนะนำให้นอนตะแคงทับด้านที่เป็น
2.ประเมินหาสาเหตุของอาการว่า อาการเจ็บหน้าอกเกิดจากหัวใจหรือ ปอด
จัดเตรีมอุปกรณ์การให้ออกซิเจนและพิจารณาให้ออกซิเจนแก่ผู้ปุวย
.1 ความสำคัญของก๊าซออกซิเจนที่มีต่อร่างกาย
แบ่งการท างานเป็น 3 ส่วน
2.ความดันออกซิเจน
ทำให้เกิดการขนส่งออกซิเจนสู่เนื้อเยื่อ เลือดเป็นตัวกลางการส่งผ่านออกซิเจนสู่เซลล์ส่วนเม็ดเลือดแดงเป็นถังเก็บออกซิเจน
3.การหมุนเวียนเพื่อกำจัดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์
การขนส่งคาร์บอนไดออกไซด์โดย hemoglobin ในเม็ดเลือดแดง
คาร์บอนไดออกไซด์ไปรวมกับน้ า เพื่อเกิดสารประกอบ กรดคาร์บอนิก(H2CO3) และแตกตัวเป็นไฮโดรเจนไออน(H+)กับไบคาร์บอเนต(HCO3)
1.การทำงานของเม็ดเลือดแดง
Hemoglobin(ฮีโมโกลบิน) นี้ทำหน้าที่ในการ“จับกับก๊าซเพื่อการขนส่ง”
2.ปัจจัยที่มีผลต่อการได้รับออกซิเจนของบุคคล
4.ความเครียด ทำให้เกิดภาวะนอนไม่หลับ การหายใจถี่ขึ้น ต้องการออกซิเจนมากขึ้น
5.อาหารที่มีไขมันมาก จะมีปริมาณออกซิเจนน้อย
3.การเล่นกีฬาหรือออกกำลังกายหนัก ๆ ขณะออกกำลังกาย ร่างกายต้องการออกซิเจนมากกว่าปกติ
6.ผู้สูงอายุ ร่างกายของคนเราจะเสื่อมลงตามอายุที่เพิ่มขึ้น ความเสื่อมเกิดขึ้นได้ทุกระบบในร่างกาย
2.อยู่ในที่ที่มีมลพิษสูง ภาวะดังกล่าวทำให้อากาศบริเวณนั้นมีออกซิเจนลดลง
7.การสูบบุหรี่ มีผลเสียต่อร่างกายในหลาย ๆ ระบบ
1.การเดินทางหรืออาศัยในที่สูง ภาวะดังกล่าวจะมีความหนาแน่นของอากาศลดลง
8.การดื่มสุราและเครื่องดื่มที่เป็นแอลกอฮอล์ การดื่มในปริมาณมากเกินควรจะส่งผลให้ร่างกายเกิดผลเสียแบบเฉียบพลับและเรื้อรัง
.6บทบาทพยาบาลในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจน
1 การจัดท่าผู้ป่วย
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะที่มีออกซิเจนในเซลล์ต่ำ (hypoxia) ควรจัดอยู่ในท่าศีรษะสูง (high fowler’s position) ในท่านี้จะช่วยให้หายใจสะดวกขึ้น
2 การบริหารการหายใจ
1) การหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลม (diaphragmatic breathing)
แนะนำให้ผู้ปุวยหยุดหายใจช้าๆ หลังหายใจเข้าลึกเต็มที่แล้วเปุาลมออกทางปากช้าๆ โดยการห่อปาก
กระตุ้นให้ผู้ปุวยหดเกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้องไล่อากาศออกจากปอดให้มากที่สุด
สอนผู้ปุวยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก (ปิดปากให้สนิท) ขณะผู้ปุวยสูดหายใจให้ดันกระบังลมลงให้ต่ าและใช้แรงดันผนังหน้าท้องให้ขยายออก
ช่วยเหลือผู้ปุวยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย อาจอยู่ในท่านั่งหรือนอนศีรษะสูงเล็กน้อย ท าให้หน้าท้องหย่อ
หลังจากฝึกปฏิบัติจนช านาญแล้ว อาจใช้ของหนักประมาณ 5 ปอนด์
ให้ผู้ปุวยฝึกหายใจโดยใช้กล้ามเนื้อหน้าท้องหรือกระบังลมหายใจครั้งละ10–20 นาที ทุกชั่วโมง จนเกิดความเคยชิน
ตรวจดูให้แน่ใจว่าจมูก หลอดลม ไม่มีน้ำมูก หรือเสมหะ และไม่มีอาการบวมคั่ง ถ้ามีน้ ามูกหรือเสมหะให้พ่นละอองไอน้ำ ดูดเสมหะออก
อธิบายให้ผู้ปุวยเปุาลมออกทางปากช้าๆ ประมาณ 2 –3 เท่า ของระบบการหายใจเข้า
2) การหายใจโดยการห่อปาก (pursed -lip breathing)
แนะน าผู้ปุวยให้หายใจเข้าลึกๆ ทางจมูก (ปิดปากให้สนิท) และค่อยๆ หยุดหายใจช้าๆ เมื่อหายใจเข้าเต็มที่ ท าติดต่อกัน 3 ครั้ง
แนะน าผู้ปุวยให้หายใจออกทางปากช้าๆ โดยการห่อปาก
ช่วยเหลือผู้ปุวยจัดท่าให้อยู่ในท่าที่สบาย
อธิบายให้ผู้ปุวยตั้งใจเปุาลมออกทางปากช้าๆ
ใช้วิธีการหายใจ เมื่อผู้ปุวยมีการหายใจสั้น และฝึกการหายใจ 5-10 นาทีวันละ 4ครั้ง
เนื่องจากหายใจล าบาก ถ้าผู้ปุวยฝึกปฏิบัติอย่างต่อเนื่อง จะช่วยลดความวิตกกังวลของผู้ปุวย
3)การหายใจเข้าลึกๆ (deep breathing)
2.รวบตรึงบริเวณผ่าตัดด้วยหมอน โดยใช้มือกอดหมอน
3.แนะนำให้ผู้ปุวยหายใจเข้าลึกๆ อย่างช้าๆ ในกรณีผู้ปุวยหลังการผ่าตัด ควรให้ยาระงับปวดก่อน 20 –30 นาที
1.จัดท่าให้ผู้ปุวยหายใจเข้าลึกๆและไอได้สะดวก
4.แนะน าผู้ปุวยให้กลั้นหายใจและไอออกแรงๆ
5.เตรียมกระดาษเยื่อและชามรูปไต หรือกระโถนให้ผู้ปุวยนอกจากนี้อุปกรณ์ที่ช่วยในการส่งเสริมการได้รับออกซิเจนเรียกว่า spirometer (tri-flow)
ยาขยายหลอดลม
เป็นการส่งเสริมการได้รับออกซิเจนในบทบาทกึ่งอิสระโดยพิจารณาให้ยาขยายหลอดลมตามแผนการรักษา สามารถท าได้ ดังนี้
1. การให้ยาขยายหลอดลมชนิด Metered –Dose Inhaler (MDI)
ป็นการให้ยาตามแผนการรักษาของแพทย์เพื่อแก้ปัญหาที่ระบบทางเดินหายใจ
2.การให้ยาขยายหลอดลมโดยผ่านออกซิเจนละอองฝอย(oxygen nebulizer)
อาจเรียกว่า hand-hold nebulizerตามแผนการรักษาของแพทย์
3 การดูดเสมหะ(suction)
การเพิ่มความสามารถในการขยายตัวของทรวงอกและปอด
การเพิ่มปริมาณออกซิเจนที่เข้าปอด โดยอาจมีการให้ออกซิเจน
การช่วยท าให้ทางเดินหายใจโล่ง
การลดความต้องการปริมาณออกซิเจนในร่างกาย
การผ่อนคลายความวิตกกังวล
วิธีการดูดเสมหะ
1.การดูดเสมหะทางจมูก(Nasopharygeal) หรือปาก (oropharyngealsuction)
2.การดูดเสมหะทางท่อช่วยหายใจ(Endotracheal) หรือทางท่อหลอดคอ (tracheostomy suction)
เครื่องดูดเสมหะ มีให้เลือกใช้อยู่ 2 ชนิด คือ
1.เครื่องดูดเสมหะชนิดเคลื่อนที่ (mobile suction)
ชนิดติดฝาผนัง (wall suction)
การดูดเสมหะทางปาก
สังเกตอาการเหนื่อย หายใจล าบาก ได้ยินเสียงดังขณะหายใจเข้าและออก
สังเกตลักษณะสีผิว เล็บ และริมฝีปาก มีอาการ cyanosis
สังเกตอาการซึมลงของผู้ปุวย
ประเมินอาการไอมีประสิทธิภาพที่จะขับเสมหะออกได้ลดลง
ฟังเสียงปอดได้ยินเสียงเสมหะ
สังเกตลักษณะเสมหะ เหนียว และมีจ านวนมาก
สังเกตแบบแผนและลักษณะการหายใจค่อนข้างแรงมาก อัตราการหายใจเร็ว
สังเกตอาการอาเจียนหรือขย้อนอาหารอยู่ในปาก
การเตรียมเครื่องใช้สำหรับการดูดเสมหะทางปาก
สายดูดเสมหะที่สะอาดปราศจากเชื้อ ตามขนาดผู้ปุวย
ท่อต่อ (connector) ใช้ต่อสายดูดเสมหะกับเครื่องดูดเสมหะ
สายหล่อลื่นหรือน้ำกลั่น
ไม้กดลิ้นที่สะอาด
เครื่องดูดเสมหะ
ถุงมือสะอาด
oral airway หรือ nasal airway
ขวดน้ำเกลือใช้ภายนอก
วิธีการปฏิบัติการดูดเสมหะทางปาก
จัดท่าผู้ปุวยให้นอนตะแคงศีรษะต่ าเล็กน้อย
5.ปรับแรงดันเครื่องดูดเสมหะให้เหมาะสมตามประเภทของผู้ปุวย
สวมถุงมือ เพื่อหลีกเลี่ยงการเปื้อนเสมหะ
ให้ผู้ปุวยช่วยอ้าปาก กรณีไม่รู้ตัวใช้ไม้กดลิ้นช่วยในการอ้าปากผู้ปุวย จากนั้นใส่สายดูดเสมหะในบริเวณที่ต้องการจะดูดเสมหะ อาจเป็นแก้ม ใต้ลิ้น และบริเวณด้านหลังของปาก
ล้างมือให้สะอาดใส่mask เพื่อลดการแพร่ของเชื้อโรค
ขณะทำการดูดเสมหะ พบว่า ดูดไม่ขึ้นหรือดูดไม่ออกให้หยุดทำการดูดเสมหะไว้ก่อน
อธิบายให้ผู้ปุวยและญาติเข้าใจเพื่อลดความวิตกกังวลและให้ความร่วมมือ
การดูดเสมหะแต่ละครั้งไม่ควรนานเกิน 10วินาที หรือประมาณเวลาเท่ากับการกลั้นหายใจของผู้ดูดเสมหะ
9.ล้างสายดูดโดยการดูดผ่านน้ำเกลือใช้ภายนอกเป็นการท าความสะอาดสายดูดเสมหะ 1-2ครั้ง
10.เช็ดท าความสะอาดบริเวณที่มีน้ าเปียก เช็ดน้ าตาผู้ปุวยที่อาจไหลขณะดูดเสมหะ จัดท่าให้ผู้ปุวยสุขสบาย เพื่อให้หายใจได้สะดวก
ถอดสายดูดเสมหะ เก็บของให้เข้าที่เรียบร้อย ถอดถุงมือออกทิ้ง
การพยาบาลผู้ป่วยด้านจิตใจก่อน/ขณะ/และหลังการดูดเสมหะ
1. การเก็บเสมหะส่งตรวจ(Sputum examination)
ควรตรวจดูให้แน่ใจว่าเป็นเสมหะไม่ใช่น้ าลายโดยเสมหะควรมีลักษณะเป็นเมือกเหนียวขุ่นข้นมีสีเหลืองสีเขียวหรือสีแดงปนปิดฝาให้สนิทน าส่งห้องปฏิบัติการ
2. การตรวจเสมหะแบบเพาะเชื้อ(Sputum culture)
การเก็บเสมหะแบบเพาะเชื้อ มีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการทราบว่าผู้ปุวยติดเชื้อชนิดใด และมีปฏิกิริยาต่อยาปฏิชีวนะตัวใด และเพื่อปรับเปลี่ยนแผนการรักษา
3.การประเมินภาวะพร่องออกซิเจน
1การประเมินสภาพร่างกาย
3) ระบบประสาทส่วนกลาง
4) ระบบผิวหนัง
2) ระบบหัวใจและหลอดเลือด
5) ระบบทางเดินอาหาร
1) ระบบทางเดินหายใจ
.2การประเมินการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
1)ระดับค่าก๊าซในหลอดเลือดแดง (Arterial blood gas: ABG)
เป็นการตรวจเพื่อหาประสิทธิภาพการท างานของปอด เพื่อประเมินความสามารถในการแลกเปลี่ยนก๊าซ และการหายใจ
2)ค่าการอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด (Arterial oxygen saturation)
ใช้pulseoximeterเป็นอุปกรณ์ที่วัดร้อยละของฮีโมโกลบินที่จับกับออกซิเจน(oxyhemoglobin)ต่อปริมาณฮีโมโกลบินทั้งหมดในเลือด
3)การตรวจหาระดับฮีโมโกลบิน (Hemoglobin: Hb)
3.โรคเลือดโดยเฉพาะเม็ดเลือดแดงน้อยเช่น ภาวะโลหิตจาง
4.ระบบเผาผลาญเมตาบอลิซึมผิดปกติต่าง ๆ
2.ระบบหัวใจและหลอดเลือดเช่นโรคหัวใจชนิดต่างๆ
ระบบประสาทส่วนกลางและส่วนปลายความผิดปกติของกล้ามเนื้อ
ระบบทางเดินหายใจเช่น การอุดกั้น
6.ผู้ปุวยที่ได้รับการผ่าตัดโดยเฉพาะการผ่าตัดส่วนอกและช่องท้อง
6.เทคนิคการพยาบาลที่เกี่ยวข้องในการให้ออกซิเจนแบบต่างๆ
ระบบการให้ออกซิเจน
1) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดต่ำ (Low flow system)
(2) การให้ออกซิเจนทางหน้ากาก (mask)
2) Reservoir bag (partial rebreathing mask)
ให้ความเข้มข้นสูงกว่าร้อยละ60–90
3) Non rebreathing mask
ลักษณะคล้าย partial rebreathing ยกเว้นรูระบายอากาศส่วนหน้ากากลักษณะเป็นลิ้นไหลทางเดียว (unidirectional valve) ทั้ง2 ข้าง
1) Simple mask
เป็นชนิดที่ให้ออกซิเจนความเข้มข้นร้อยละ 40-50
(1) การให้ออกซิเจนชนิดเขี้ยว (nasal cannula)หรือnasal prongs
ข้อเสีย
อาจมีการระคายเคืองช่องจมูกทั้งสองข้าง ทำให้เยื่อบุจมูกบวมและมีน้ ามูกออกมาอุดท าให้ท่อตันได้ จึงควรท าความสะอาดท่อและรูจมูกทุก 8 ชั่วโมง
เป็นการให้ออกซิเจนทางจมูก วิธีนี้ผู้ปุวยจะได้รับออกซิเจนที่มีความเข้มข้นต่ า ซึ่งจะได้ออกซิเจนร้อยละ30 –40
2) ระบบการไหลของออกซิเจนชนิดสูง (High flow system)
(3) การให้ออกซิเจนชนิด croupette tent
เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนที่ครอบตัวผู้ปุวยลักษณะคล้ายเต็นท์
(4) การให้ออกซิเจนชนิด hood หรือ oxygen box
เป็นอุปกรณ์ใช้ครอบศีรษะและไหล่ผู้ปุวยเด็ก
(2) การให้ออกซิเจนทางท่อหลอดลม (tracheostomy collar)
เป็นอุปกรณ์คล้ายหน้ากากคล้องไว้กับคอ ครอบบนท่อเจาะหลอดลมคอ
(5) การให้ออกซิเจนทางท่อช่วยหายใจ(endotracheal tube: ET)
เป็นท่อช่วยหายใจซึ่งแพทย์จะใส่ท่อนี้เข้าไปในหลอดลมของผู้ปุวย แล้วต่อเข้ากับเครื่องช่วยหายใจ
(1)การให้ออกซิเจนชนิดT-piece
เป็นอุปกรณ์ให้ออกซิเจนผู้ปุวยที่มีท่อทางเดินหายใจ
ระบบให้ความชื้น (Humidification)
2) ชนิดละอองฝอย (Jet)
ให้ความชื้นในทางเดินหายใจที่อยู่ลึกเหมาะกับผู้ปุวยที่มีเสมหะเหนียว มักเห็นเป็นหมอก สายให้ออกซิเจนมักมีขนาดใหญ่และเป็นลูกฟูก
1) ชนิดละอองโต (Bubble)
ให้ความชื้นในส่วนต้นของทางเดินหายใจ 30–40%สายให้ก๊าซมีขนาดเล็กน้ าจะปุดเป็นฟองเมื่อเปิดให้กับผู้ปุวยมักใช้กับ oxygen cannula
แหล่งให้ออกซิเจน (Oxygen source)
1) ถังบรรจุออกซิเจน (Oxygen tank)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของออกซิเจนออกจากแหล่งจัดเก็บออกซิเจน
2) ระบบท่อ(Oxygen pipeline)
เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการควบคุมการไหลของออกซิเจนออกจากแหล่งจัดเก็บออกซิเจนมาตามระบบท่อ
ระบบทางเดินหายใจและกลไกการทำงาน
กล่องเสียง
ใช้ในการสร้างเสียง และเป็นทางเดินหายใจ
หลอดคอ หลอดลม และ หลอดลมฝอย
ทำหน้าที่ลำเลียงอากาศ ดักจับเชื้อโรค
ฝาปิดกล่องเสียง
ทำหน้าที่กันไม่ให้อาหารที่เรากลืนตกลงสู่ ระบบทางเดินหายใจ
ถุงลม
ทำหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊ส
โพรงจมูกและช่องคอ
ทำหน้าที่ เพิ่มอุณหภูมิ ดักจับเชื้อโรค
กลไกการหายใจของมนุษย์
1. การหายใจเข้า (Inspiration)
อากาศจากภายนอกผ่านเข้าสู่ปอด
2. การหายใจออก (Expiration)
อากาศจากภายในปอดออกสู่ภายนอกได้
3. การหายใจในระดับเซลล์
ก๊าซออกซิเจนกับสารอาหารภายในเซลล์ทำให้เกิด (ATP) ขึ้นเพื่อไปใช้ประโยชน์อย่างอื่น
จมูก
ใช้เพื่อเป็นทางเข้าของอากาศ มีหน้าที่ในการดักจับฝุุนละออง
กลไกควบคุมการหายใจ
1. การควบคุมแบบอัตโนมัติ
ซึ่งเป็นการหายใจที่ไม่สามารถบังคับได้
2. การควบคุมภายใต้อำนาจจิตใจ
ซึ่งเป็นการหายใจที่สามารถบังคับได้
7ความปลอดภัยขณะผู้ป่วยได้รับออกซิเจน
เป็นบทบาทของพยาบาลในการให้การพยาบาลเพื่อให้ผู้ปุวยได้รับความปลอดภัยขณะได้รับออกซิเจน
อาจเกิดการท าลายเนื้อเยื่อในปอด
อาจท าให้เยื่อบุทางเดินหายใจแห้งและเกิดการระคายเคืองได้
อาจเกิดอันตรายกับดวงตา (retrolental fibroplasias) คือ การได้รับออกซิเจนความเข้มข้นสูงเป็นระยะเวลานานๆ จะเกิดกับหลอดเลือดหลังเลนส์เปลี่ยนแปลง
5.อาจเกิดการหยุดหายใจ ในผู้ปุวยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง
6.อาจเกิดอุบัติเหตุจาการเกิดไฟไหม้หรือการระเบิดเพราะการสันดาป (combustion)
1.อาจเกิดการติดเชื้อโรคแทรกซ้อน